Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78103
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุทธิดา จำรัส | - |
dc.contributor.author | ธนพิพัฒน์ จันทร์รอด | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-06-21T11:42:24Z | - |
dc.date.available | 2023-06-21T11:42:24Z | - |
dc.date.issued | 2022-05 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78103 | - |
dc.description.abstract | The purposes of this research were (1) to study the DIY plant tissue culture: STEM activities to develop problem solving skills (2) to study the DIY plant tissue culture: STEM activities to develop critical thinking. The sample group of this study was 28 Mathayom Suksa 1 students of educational opportunity extension school in Chiang Mai Province, during the second semester of academic years 2021. The instruments used in this study were lesson plans on the topic of DIY Plant Tissue Culture 4 plans for 12 hours, problem solving skills ability test and critical thinking ability test. The data were analyzed in terms of mean, standard deviation, percentage and then compared with the criteria to interpret the quality level results. Research findings were as follows 1. Students taught through DIY plant tissue culture: STEM activities to develop problem solving skills of mean 16.32, percentage 81.61, excellent quality level 2. Students taught through DIY plant tissue culture: STEM activities to develop critical thinking of mean 22.04, percentage 73.45, good quality level. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชแบบดีไอวาย: กิจกรรมสะเต็ม เพื่อพัฒนาทักษะ การแก้ปัญหาและการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนมัธยมศึกษา ตอนต้น | en_US |
dc.title.alternative | DIY plant tissue culture: STEM activities to develop problem solving skills and critical thinking of lower secondary school students | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช | - |
thailis.controlvocab.thash | วิทยาศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) | - |
thailis.controlvocab.thash | ความคิดอย่างมีวิจารณญาณ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คือ (1) เพื่อศึกษาผลของกิจกรรมการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช แบบดีไอวายตามแนวสะเต็มศึกษาที่มีต่อทักษะการแก้ปัญหา (2) เพื่อศึกษาผลของกิจกรรม การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชแบบดีไอวายตามแนวสะเต็มศึกยาที่มีต่อการคิดอย่างมีวิจารณญาณ กลุ่มที่ ศึกษาที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2564 โรงเรียนขยาย โอกาสทางการศึกษา ขนาดกลางแห่งหนึ่งในจังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 28 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย มี 2 แบบ คือ (1) เครื่องมือที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้ ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็ม ศึกษา เรื่องการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชแบบดีไอวาย จำนวน 4 แผน เวลา 12 ชั่วโมง แบบบันทึกกิจกรรม และคู่มือการจัดกิจกรรมสำหรับครู (2) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบทดสอบ วัดทักษะการแก้ปัญหาและแบบทดสอบวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหา ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่ร้อยละ แล้วนำมาเทียบเกณฑ์เพื่อแปลผลระดับคุณภาพ การวิจัยปรากฏผลดังนี้ 1. นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้กิจกรรมการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชแบบดีไอวายตามแนว สะเต็มศึกษามีค่าเฉลี่ยของคะแนนทักษะการแก้ปัญหาเท่ากับ 16.32 คิดเป็นร้อยละ 81.61 อยู่ในระดับ คุณภาพดีเยี่ยม 2. นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้กิจกรรมการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชแบบดีไอวายตามแนว สะเต็มศึกษามีค่าเฉลี่ยของคะแนนการคิดอย่างมีวิจารณญาณเท่ากับ 22.04 คิดเป็นร้อยละ 73.45 อยู่ในระดับคุณภาพดี | en_US |
Appears in Collections: | EDU: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
600232015 ธนพิพัฒน์ จันทร์รอด.pdf | 2.88 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.