Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78079
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ชรินทร์ มั่งคั่ง | - |
dc.contributor.advisor | จารุณี ทิพยมณฑล | - |
dc.contributor.author | นิติกร แก้วปัญญา | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-06-20T01:10:29Z | - |
dc.date.available | 2023-06-20T01:10:29Z | - |
dc.date.issued | 2022-04 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78079 | - |
dc.description.abstract | The objectives of this research are 1.) To study community-based transdisciplinary learning in social studies through miang culture for promoting green citizenship of secondary school students. 2.) To develop guidelines on learning management of community-based transdisciplinary learning in social studies through miang culture for promoting green citizenship of secondary school students and 3.) To study the effect of learning method across community-based transdisciplinary learning in social studies through miang culture for promoting green citizenship of secondary school students; this is participatory action research (PAR) that we studied and developed learning path via community-based transdisciplinary through miang culture. Subsequently, we examined the level of green citizenship of secondary school students which tools applied in this research are semi-structured interview, quality assessment of e-learning package, quality assessment of green citizenship levels and focus group discussion, qualitative data were analyzed by content analysis, presented in Descriptive Analysis as well as contemplate quantitative data via statistical program to figure out the arithmetic mean and standard deviation. ญ The results of the study on learning across community-based transdisciplinary learning in social studies through miang culture for promoting green citizenship of secondary school students indicate the guidelines on learning management of community-based transdisciplinary learning in social studies through miang culture for promoting green citizenship of secondary school students should be classified as hybrid learning which must target to organize learning process to handle with pandemic situation and technology disruption. Learners have synthesized the process of learning management of community-based transdisciplinary learning in social studies through miang culture for promoting green citizenship, called “CMUD+ Area-Based Learning Approach” by applying technology to help organize the learning process through e-learning package together with online self directed learning and managing learning process that conforms to the context of community culture and utilize it as mutual learning for all learning subjects which will help create a learning process that is not limited to only one field and help connecting learning to approach normal way of students’ daily routine. Guidelines on learning management of community-based transdisciplinary learning in social studies through miang culture for promoting green citizenship of secondary school students developed as an e-learning package consists of learning management plan and platform via google classroom program; e-learning package plans have the highest level of quality to manage learning which proves that it can be applied to manage community-based transdisciplinary learning in social studies through miang culture that can enhance green citizenship among students effectively. The results of the study on the utilization of the learning across community-based transdisciplinary learning in social studies through miang culture for promoting green citizenship of secondary school students discovered that those who have learned through community-based transdisciplinary learning in social studies through miang culture have a high level of green citizenship overall. According to evaluation, it demonstrates enhancement in learning that has been developed which leads students to transform into green citizenship as well as realize the value of preservation, cherishing, and sustaining the environment and natural resources. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | สังคมศึกษาข้ามศาสตร์ | en_US |
dc.subject | online self-directed learning | en_US |
dc.subject | พลเมืองวิถีเขียว | en_US |
dc.title | การเรียนรู้สังคมศึกษาข้ามศาสตร์ฐานชุมชนผ่านวัฒนธรรมเหมี้ยงเพื่อส่งเสริมความเป็นพลเมืองวิถีเขียวของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา | en_US |
dc.title.alternative | Community-based transdisciplinary learning in social studies through Miang culture for promoting green citizenship of secondary school students | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | การอนุรักษ์ธรรมชาติ -- เชียงใหม่ | - |
thailis.controlvocab.thash | การจัดการสิ่งแวดล้อม -- เชียงใหม่ | - |
thailis.controlvocab.thash | นักเรียนมัธยมศึกษา -- เชียงใหม่ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการเรียนรู้สังคมศึกษาข้ามศาสตร์ฐานชุมชนผ่าน วัฒนธรรมเหมี้ยงเพื่อส่งเสริมความเป็นพลเมืองวิถีเขียวของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา 2) เพื่อพัฒนาแนวทางการเรียนรู้สังคมศึกษาข้ามศาสตร์ฐานชุมชนผ่านวัฒนธรรมเหมี้ยงเพื่อส่งเสริมความเป็นพลเมืองวิถีเขียวของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาและ 3) เพื่อศึกษาผลการใช้แนวทางการเรียนรู้สังคมศึกษาข้ามศาสตร์ฐานชุมชนผ่านวัฒนธรรมเหมี้ยงเพื่อส่งเสริมความเป็นพลเมืองวิถีเขียวของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา เป็นการวิจัยปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research: PAR) โดยได้ศึกษาและพัฒนาแนวทางการเรียนรู้สังคมศึกษาข้ามศาสตร์ฐานชุมชนผ่านวัฒนธรรมเหมี้ยง จากนั้นทำการศึกษาระดับความเป็นพลเมืองวิถีเขียวของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา มีเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสัมภาษณ์แบบกึ่งไม่มีโครงสร้าง แบบประเมินคุณภาพชุดการเรียนรู้ทางอิเล็กทรอนิกส์ แบบประเมินระดับความเป็นพลเมืองวิถีเขียว และแบบสนทนากลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) นำเสนอในรูปแบบพรรณนา (Descriptive Analysis) และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณด้วยโปรแกรมทางสถิติเพื่อหาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า ผลการศึกษาการเรียนรู้สังคมศึกษาข้ามศาสตร์ฐานชุมชนผ่านวัฒนธรรมเหมี้ยงเพื่อส่งเสริมความเป็นพลเมืองวิถีเขียวของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา พบว่า แนวทางการจัดการเรียนรู้สังคมศึกษาข้ามศาสตร์ฐานชุมชนผ่านวัฒนธรรมเหมี้ยงเพื่อส่งเสริมความเป็นพลเมืองวิถีเขียวของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาควรจัดอยู่ในรูปแบบทวิสัมพันธ์ (hybrid learning) ซึ่งจะต้องมุ่งจัดกระบวนการเรียนรู้ให้รองรับต่อสถานการณ์โรคระบาด และการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีอย่างพลิกพลัน ผู้ศึกษาได้สังเคราะห์กระบวนจัดการเรียนรู้สังคมศึกษาข้ามศาสตร์ฐานชุมชนผ่านวัฒนธรรมเหมี้ยงเพื่อส่งเสริมความเป็นพลเมืองวิถีเขียว เรียกว่า “CMUD+ Area-Based Learning Approach” โดยใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการจัดกระบวนการเรียนรู้ ผ่านการใช้ชุดการเรียนรู้ทางอิเล็กทรอนิกส์ ร่วมกับการเรียนรู้ออนไลน์แบบนำตนเอง (online self-directed learning) และจัดกระบวนการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับบริบทวัฒนธรรมของชุมชน และใช้วัฒนธรรมชุมชนเป็นประเด็นในการเรียนรู้ร่วมกันของทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้จะช่วยให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ที่ไม่จำกัดอยู่ในศาสตร์ใดศาสตร์หนึ่ง และช่วยเชื่อมโยงการเรียนรู้ให้เข้าถึงวิถีปกติในการดำรงชีวิตประจำวันของนักเรียน แนวทางการจัดการเรียนรู้สังคมศึกษาข้ามศาสตร์ฐานชุมชนผ่านวัฒนธรรมเหมี้ยงเพื่อส่งเสริม ความเป็นพลเมืองวิถีเขียวของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาที่พัฒนาขึ้นนั้นเป็นชุดการเรียนรู้ทาง อิเล็กทรอนิกส์ ประกอบด้วยแผนการจัดการเรียนรู้และแพลตฟอร์มการเรียนรู้ผ่านโปรแกรม Google Classroom ซึ่งแผนการจัดการเรียนรู้ในชุดการเรียนรู้ทางอิเล็กทรอนิกส์มีคุณภาพที่จะนำไปจัดการ เรียนรู้อยู่ในระดับมากที่สุด ซึ่งแสดงให้เห็นว่าชุดการเรียนรู้ทางอิเล็กทรอนิกส์สามารถนำไปใช้ จัดการเรียนรู้สังคมศึกษาข้ามศาสตร์ฐานชุมชนผ่านวัฒนธรรมเหมี้ยงที่ช่วยส่งเสริมให้เกิดความเป็น พลเมืองวิถีเขียวแก่นักเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพผลการศึกษาผลการใช้แนวทางการเรียนรู้สังคมศึกษาข้ามศาสตร์ฐานชุมชนผ่านวัฒนธรรมเหมี้ยงเพื่อส่งเสริมความเป็นพลเมืองวิถีเขียวของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา พบว่า นักเรียนที่เรียนรู้ผ่านกระบวนการเรียนรู้สังคมศึกษาข้ามศาสตร์ฐานชุมชนผ่านวัฒนธรรมเหมี้ยงมีระดับความเป็นพลเมืองวิถีเขียวภาพรวมอยู่ในระดับมาก ซึ่งจากผลการประเมินแสดงให้เห็นว่า การจัดการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้นช่วยส่งเสริมให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ที่นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงนักเรียนให้เป็นพลเมืองวิถีเขียวและเห็นคุณค่าของการอนุรักษ์ หวงแหนและดูแลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม | en_US |
Appears in Collections: | EDU: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
630231004 นิติกร แก้วปัญญา.pdf | 56.67 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.