Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78026
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorKannipa Motanated-
dc.contributor.advisorWeerapan Srichan-
dc.contributor.advisorNiti Mankhemthong-
dc.contributor.authorKritsada Moonpaen_US
dc.date.accessioned2023-06-13T09:22:55Z-
dc.date.available2023-06-13T09:22:55Z-
dc.date.issued2021-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78026-
dc.description.abstractThe sedimentary rocks, which are distributed in the Lampang and Phrae Provinces, central of northern Thailand, are Triassic marine sedimentary rocks of Lampang Group. These rocks distributed in an elongate shape in the northeast-southwest direction in two main sub-basins, Lampang Sub-basin and Phrae Sub-basin of the Sukhothai Arc. This study focused on the link between depositional history, paleoenvironment, and tectonic settings of the Lampang Sub-basin. In addition, the provenance, distribution, transitional process of sediments, and fossils were studied in order to analyze and reconstruct the depositional evolution model of the Lampang Group. The Lampang Group in Lampang Sub-basin consists of five formations, Phra That, Pha Kan, Hong Hoi, Doi Long, and Pha Daeng Formations from base to top. The method of this study is divided into two main parts, including field observation and laboratory study. The stratigraphic study, sedimentary facies, paleocurrent observation, and geological structures are based on thirty study sections in the Lampang and Phrae Provinces. The stratigraphic study, bed thickness measurement, distribution, and stratified sampling method, in which samples are collected where there is a change in lithological characteristics, are employed here. In the laboratory studies, sedimentological details, petrography, and compositions of both clastic and carbonate sedimentary rocks are observed in the hand-specimen samples and thin-sections under polarizing microscope. The Phra That Formation composes of greenish-grey to reddish-brown sandstones, siltstones, conglomerates, and volcaniclastic rocks. These sedimentary successions are deposited in a near-shore shallow marine environment based on the facies analysis and sedimentological and petrographic studies. In addition, the fossils of bivalves, including Eumorphotis multiformis and Costatoria, brachiopods, and crinoid stem support the shallow marine environment interpretation. The Pha Kan and Doi Long Formations of which distribution is narrow and elongate, mainly consist of limestone, dolomitic limestone, argillaceous limestone, shale, and mudstone with minor intercalated calcareous sandstone. The shallow water, ramp carbonate platform is proposed to be the depositional environment of the Pha Kan Formation based on the stratigraphic study, grain types, microfacies distribution, compositions, and biotic compositions. The Doi Long Formation is interpreted as a product of shallow water reef or bank settings with a small-scale patch reef or small-sized bioherm productivity. The Hong Hoi Formation mostly consists of mudstone, sandstone, and shale with minor intercalated conglomerate and limestone. Based on lithofacies analysis, stratigraphic study, distribution, bed geometry, sedimentary structures, and fossils, the paleoenvironment of the Hong Hoi is interpreted to deposit in a submarine fan environment. The transportation patterns broadly represent a variety of sedimentary processes from the source areas, including debris flow, and high- to low-density turbidity current. Sandstones are normally graded and fining-upward depositional cycles, and with erosive base. Detailed paleocurrent analysis of sedimentary structures reveals three dominant flow directions including northeast toward southwest, southeast toward northwest, and northwest toward southeast depend on the locations of source rock. The results of paleocurrent directions suggest that the basin was transversely fed from the source areas. The petrographic study of the thin-sections of the conglomerate and sandstone samples of the Phra That and Hong Hoi Formations under the polarizing microscope show that the sandstones are poorly sorted, and grains are subangular and have medium sphericity. The sandstone samples are classified as lithic arenite and lithic greywacke. The results of provenance in the Phra That Formation suggested that the sediments were originated from an active magmatic arc and sedimentary basement uplift. Provenance analysis in the Hong Hoi Formation indicates that the source of sediments is transitional and dissected arc and from the reworked shallow marine limestone of the Pha Kan Formation. However, sandstone samples of the Pha Daeng and Wang Chin Formations are characterized by an abundant supply of quartz grains more than other formations, which suggests the influence of continental materials from the Indochina Block. In addition, the presence of mixed siliciclastic and carbonate sediments in the Pha Kan and Doi Long Formations suggests the influence of volcanic activity during the carbonate deposition. The sedimentation history of the Lampang Group in the Lampang Sub-basin, prior to the basin development, volcanic, pyroclastic, and volcaniclastic rocks of the PermoTriassic (PTrv) and Permian sedimentary rocks were existing in the Lampang area. The basin was initially open and uplifted. Erosion along the basin margin, initiation and transportation of volcanic-derived clastic sediment debris flow, and the deposition of basal limestone conglomerate occur during this period. The Phra That Formation is deposited in a near-shore, shallow marine basin in the Early Triassic. The shallow marine carbonate rocks of the Pha Kan Formation is conformably and unconformably overlying the Phra That Formation and is overlain by the Hong Hoi Formation. In the Middle Triassic, deep marine mudstone and sandstone sequences of the Hong Hoi Formation are widely distributed in the basin. The fauna fossils including bivalves (Daonella, Posidonia, and Halobia) and ammonoids (Paratrachyceras and Trachyceras) infer that the formation developed in a deep marine environment. Carbonate sedimentation of the Doi Long Formation is conformably overlying the Hong Hoi Formation in the Late Triassic due to the sea-level fall, less subsidence, and low amount of siliciclastic supply. The carbonate rocks of the Doi Long Formation are distributed in a narrow zone as belts in reef or bank settings. The transition from the Doi Long to the Pha Daeng Formations is erosional unconformity characterized by the presence of the basal limestone conglomerate, deposited at base of the Pha Daeng Formation. This evidence suggests a short period of uplifting of the shallow water carbonate of the Doi Long Formation. The fan-delta environment of the Pha Daeng Formation is characterized by the occurrence of shallow marine clastic depositions. During the Late Triassic, the basin was diminished probably due to uplifting because of the collision between the Sibumasu and Indochina Blocks.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectTectonicen_US
dc.subjectDepositionalen_US
dc.titleDepositional and Tectonic Evolution of Lampang Group in Lampang and Phrae Provinces, Thailanden_US
dc.title.alternativeวิวัฒนาการการสะสมตะกอนและธรณีแปรสัณฐานของกลุ่มหินลำปางในจังหวัดลำปาง และจังหวัดแพร่ ประเทศไทยen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshSediments (Geology) -- Lampang-
thailis.controlvocab.lcshSediments (Geology) -- Phrae-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractกลุ่มหินลำปาง คือ หินตะกอนที่สะสมตัวในทะเล ยุดไทรแอสซิก ที่กระจายตัวทางตอนกลางของภาคเหนือประเทศไทยบริเวณ จังหวัดลำปางและจังหวัดแพร่ หินตะกอนเหล่านี้มีการกระจายตัวเป็นแนวยาวในทิศตะวันออกเฉียงเหนือตะวันตกเฉียงใต้ในสองแองย่อย ได้แก่ แองลำปางและแอ่ง แพร่ของแนวภูเขาไฟรูปโค้งสุโขทัย การศึกษานี้มีจุดประสงค์ที่จะศึกษาความสัมพันธ์ของการสะสมตะกอนของกลุ่มหินลำปาง สภาพแวดล้อมบรรพกาล และธรณีแปรสัณฐานของแอ่งสะสมตะกอนในแอ่งย่อยลำปาง นอกจากนี้ยังศึกษาแหล่งกำเนิด ที่มาของตะกอน การกระจายตัวและรูปแบบการพัดพาและซากดึกคำบรรพ์ที่เกิดร่วม รวมทั้งสร้างแบบจำลองวิวัฒนาการการสะสมตัวของตะกอนของกลุ่มหินลำปาง กลุ่มหินลำปางในแอ่งย่อยลำปาง ประกอบด้วยหมวดหินพระธาตุ หมวดหินผาก้าน หมวดหินฮ่องหอย หมวดหินดอยลองและหมวดหินผาแดง การศึกษาครั้งนี้ได้แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ การศึกษาในภาคสนามและการศึกษาในห้องปฏิบัติการ การสำรวจ และศึกษาภาคสนาม จำนวน 30 แนวสำรวจในจังหวัดลำปางและจังหวัดแพร่ เป็นการศึกษาการลำดับชั้นหิน ลักษณะปรากฎทางหิน ทิศทางของกระแสบรรพกาล โครงสร้างทางธรณีวิทยา ความหนา และการกระจายตัว และเลือกการเก็บตัวอย่างเมื่อมีความเปลี่ยนแปลงของชนิดหิน การศึกษาในห้องปฏิบัติการประกอบด้วยการศึกษาจากก้อนหินตัวอย่าง และการศึกษาแผ่นหินบางภายใต้กล้องจุลทรรศน์โพลาไร ซิง เพื่อศึกษารายละเอียดทาง ตะกอนวิทยา ศิลาวรรณนาและส่วนประกอบ ทั้งในหินตะกอนเนื้อเม็ดและหินคาร์บอเนต หมวดหินพระธาตุ ประกอบด้วยหินทราย หินทรายแป้ง หินกรวดมน และหินตะกอนภูเขาไฟ สีเทาปนเขียวถึงน้ำตาลแดง จากการศึกษาลักษณะปรากฏทางหิน ตะกอนวิทยา ลักษณะทางศิลาวรรณนา และซากดึกดำบรรพ์หอยสองฝา เช่น Eumorphotis multiformis และ Costatoria แบรคิโอพอด และก้านไครนอยค์ ระบุว่าหมวดหินพระธาตุ สะสมตัวในสภาพแวดล้อมแบบทะเลตื้นใกล้ชายฝั่ง หมวดหินผาก้าน และหมวดหินดอยลอง มีการกระจายตัวเป็นแนวยาว บริเวณแคบประกอบด้วยหินปูน หินปูนเนื้อโดโลไมค์ หินปูนเนื้อโคลน หินดินดาน หิน โคลน และหินทรายเนื้อปูนในบางบริเวณ จากการศึกษาลำดับชั้นหิน ชนิดเม็ดตะกอน ส่วนประกอบทางหิน ซากดึกดำบรรพ์ และลักษณะปรากฏภายใต้กล้องจุลทรรศน์แสงโพลาไรซ์ เพื่อศึกษาชุดลักษณ์ระดับจุลภาค พบว่าหินคาร์บอเนตของหมวดหินผาก้าน มีการสะสมตัวในสภาพแวดล้อมในบริเวณน้ำตื้นในแบบ ramp carbonate platform ส่วนหมวดหินดอยลอง มีการสะสมตัวในสภาพแวดล้อมแบบพืดหินปะการัง(reef) หรือแนวกั้น (bank) เป็นแนวแคบ ๆ โดยพบพืดหินปะการังที่ก่อตัวร่วมกันในลักษณะเป็นกลุ่ม (patch reef) ขนาดเล็ก หมวดหินฮ่องหอย ส่วนใหญ่ประกอบด้วยหิน โคลน หินทราย และหินดินดาน หินกรวดมนและหินปูนแทรกสลับในบางบริเวณ จากการศึกษาลักษณะปรากฎทางหิน การลำดับชั้นหิน การกระจายตัวของตะกอน โครงสร้างหินตะกอนที่เกิดร่วม และซากดึกดำบรรพ์ที่พบ ระบุว่าหมวดหินฮ่องหอย เกิดการสะสมตัวในสภาพแวดล้อมแบบตะกอนรูปพัดใต้ทะเล ชั้นของหินทรายแสดงการเรียงตัวของเม็ดตะกอนจากหยาบไปละเอียด และแสดงลักษณะผิวเรียบบริเวณฐาน การศึกษาทิศทางของกระแสบรรพกาลจากโครงสร้างชั้นหินตะกอนในหมวดหินฮ่องหอย พบว่าทิศทางของกระแสบรรพกาลอยู่ในสามทิศทางหลัก คือ แนวทิศตะวันออกเฉียงเหนือไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ทิศตะวันออกเฉียงใต้ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ และแนวทิศตะวันตกเฉียงเหนือไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ โดยตะกอนถูกพัดพามาจากทางค้านข้างเข้าหาแอ่งสะสมตะกอนการศึกษาแผ่นหินบางของหินกรวดมนและหินทรายหมวดหินพระธาตุและหมวดหินฮ่องหอยพบว่าเนื้อหินแสดงการกัดขนาดไม่ดี ความกลมมนแบบกึ่งเหลี่ยม และมีความเป็นทรงกลมระดับปาน กลาง สามารถจำแนกเป็นหินลิทิกอารี ไนต์และลิทิกเกรย์แวก จากองค์ประกอบทางแร่ของหินตัวอย่างระบุว่าแหล่งตะกอนของหินทรายในหมวดหินพระธาตุ มาจากภูเขาไฟที่กำลังประทุ และจากหินตะกอนฐานที่ยกตัวขึ้น แหล่งต้นกำเนิดตะกอนของหมวดหินฮ่องหอย มาจากเกาะภูเขาไฟรูปโค้งที่ เริ่มถูกกัดเซาะ (transitional arc) เกาะภูเขาไฟที่ผ่านการกัดเซาะ (dissected are) และมาจากหินปูนน้ำตื้นของหมวดหินผาก้านจากการศึกษาลักษณะเศษชิ้นหิน อย่างไรก็ตามหินทรายของหมวดหินผาแดงและหมวดหินวังชิ้น แตกต่างจากหมวดหินอื่นตรงที่มีปริมาณของเมีดควอตซ์มากกว่าหมวดหินอื่น ๆ ขณะที่การศึกษาแผ่นหินบางภายใต้กล้องจุลทรรศน์โพลาไรซิงในหินคาร์บอเนตหมวดหินผาก้านและหมวดหินดอยลอง พบเม็ดตะกอนเนื้อเม็ดปะปนเข้ามาในหินคารับอเนต บ่งบอกถึงการได้รับอิทธิพลจากการปะทุของภูเขาไฟขณะที่หินคาร์บอเนตกำลังสะสมตัว วิวัฒนาการของการสะสมตัวของตะกอนในกลุ่มหินลำปางในช่วงแรก แอ่งตะกอนวางตัวอยู่บนหินภูเขาไฟ หินชิ้นภูเขาไฟ และหินตะกอนภูเขาไฟในช่วงยุคเพอร์เมียน-ไทรแอสซิกตอนต้น และหินตะกอนยุคเพอร์เมียน ในช่วงยุคไทรแอสซิกตอนต้นแอ่งเริ่มเปิดตัว และพบการยกตัวของหินฐานเดิมบริเวณขอบแอ่ง จากหลักฐานของการสะสมตัวของหินกรวดมน และหินกรวดมนปูนฐาน เกิดการสะสมตัวของตะกอนในกลุ่มหิน หมวดหินพระธาตุแบบทะเลตื้น บริเวณใกล้ชายฝั่ง หลังจากนั้นในช่วงยุคไทรแอสซิกตอนต้น-ตอนกลาง ระดับน้ำทะเลเพิ่มขึ้น เกิดการสะสมตัวของหินคาร์บอเนตน้ำตื้นของหมวดหินผาก้าน โดยวางตัวต่อเนื่อง และ ไม่ต่อเนื่องบนหมวดหินพระธาตุ หลังจากนั้นเกิดการสะสมตะกอนของหมวดหินฮ่องหอยแบบต่อเนื่อง และไม่ต่อเนื่องกับหมวดหินผาก้าน ช่วงยุดไทรแอสซิกตอนกลาง เกิดการสะสมตัวของหินโคลน หินทราย และหินดินดานน้ำลึกของหมวดหินฮ่องหอย กระจายตัวเป็นบริเวณกว้าง หลังจากนั้นในช่วงยุดไทรแอสซิกตอนกลางถึงตอนปลาย ระดับน้ำทะเลลดลง เกิดการสะสมตะกอนของหมวดหินดอยลองปิดทับหมวดหินฮ่องหอย กระจายตัวเป็น โซน แคบ ๆ แบบแนวพืดหินปะกัง หลังจากนั้นหินคาร์บอเนตในหมวดหินคอยลองเกิดการยกตัวและผุพัง จึงเกิดการสะสมตัวของหินกรวคมนฐาน ที่มีเม็ดตะกอนส่วนใหญ่เป็นเศษชิ้นหินปูน บริเวณฐานของหมวดหินผาแดง บ่งบอกถึงความไม่ต่อเนื่องของการสะสมตะกอน ในช่วงยุคไทรแอสซิกตอนปลาย เกิดการสะสมตัวของตะกอนในหมวดหินผาแดง ภายใต้สภาพแวดล้อมแบบตะกอนปากแม่น้ำรูปพัดน้ำตื้น หลังจากนั้นในช่วงยุดไทรแอสซิกตอนปลาย เกิดการชนกันของแผ่นเปลือกโลกทวีป และหินตะกอนในแองย่อยลำปางถูกตัวขึ้นทั้งหมด ร่วมกับการเกิดแนวชั้นหินคดโค้งรอยเลื่อนย้อน และการแปรเปลี่ยนของชั้นหินen_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
600551025 กฤษฎา มูลป่า.pdf38.86 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.