Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78002
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเกรียงไกร อรุโณทยานันท์-
dc.contributor.authorประภาพร พาพิมพ์en_US
dc.date.accessioned2023-06-12T00:50:33Z-
dc.date.available2023-06-12T00:50:33Z-
dc.date.issued2023-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78002-
dc.description.abstractMobility-on-Demand (MOD) services have currently reshaped the way people travel and commute around cities. With the help of advanced technologies, MOD services are conveniently accessible through a mobile digital platform connecting passengers to drivers, real-time offering personalised travel options to each passenger request, and enabling integration of trip planning and fare payment. However, the crisis of the Coronavirus Disease 2019 (COVID-19) pandemic has greatly affected on the transport sector and travel behaviour, mainly due to the governmental lockdown measures and fears of contracting the virus. This study therefore aims to investigate the influences of factors affecting the travellers’ decision to use the MOD services focusing on the ride-hailing mobile application services, while developing decision-making models capturing their MOD travel behaviours with respect to the COVID-19 pandemic situation. Based on the literature review, potential influencing factors were listed and classified into two groups; socio-economic factors (i.e. gender, age, occupation, education, status, income, and vehicle possession) and factors related to the decision to use MOD services (i.e. convenience to use other transport modes, travel companion, fare perception, and travel time). Using the stated preference survey data of 411 observations, the binary logistic regression analysis was performed when the response is binary; i.e. two possible outcomes, in this case, Use MOD and Not-Use MOD. Meanwhile, the ordered logistic regression analysis was also performed to investigate whether there is a natural ordering to the outcome variables, in this case, the frequency of the MOD usage. The analysis went further by comparing the MOD travel behaviour between two time periods, namely Before the COVID-19 pandemic and During the COVID-19 pandemic. The results show that, not only can the natural ordering to the outcome variables be statistically found, but also which factors influencing MOD travel behaviours with respect to the time periods can be pointed out. For Before the COVID-19 pandemic, the factors influencing the decision to use MOD are travel time, convenience to use other transport modes, fare perception, and vehicle possession. For During the COVID-19 pandemic, apart from the same factors shown significantly as in the Before the COVID-19 pandemic, an additional factor is Gender, indicating that females are likely to opt for the MOD service during the COVID-19 pandemic.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการวิเคราะห์การใช้บริการขนส่งตามความต้องการระหว่างการแพร่ระบาดครั้งใหญ่ของโรคไวรัสโคโรนา 2019en_US
dc.title.alternativeAnalysis of mobility-on-demand service usage during the COVID-19 pandemicen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashการขนส่ง-
thailis.controlvocab.thashการขนส่งทางบก-
thailis.controlvocab.thashการเลือกวิธีการเดินทาง-
thailis.controlvocab.thashโควิด-19 (โรค)-
thailis.controlvocab.thashผู้บริโภค-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่นำมาปรับใช้กับบริการด้านการขนส่ง ทำให้ผู้ใช้บริการได้รับความสะดวกสบาย เช่นเดียวกับการใช้บริการขนส่งตามความต้องการที่ตอบสนองรูปแบบการดำเนินชีวิตในปัจจุบัน การใช้บริการที่เข้าถึงได้ง่ายผ่านแอพพลิเคชันในโทรศัพท์มือถือ ทั้งนี้ยังสามารถวางแผนการเดินทางล่วงหน้าหรือเลือกรูปแบบการเดินทางให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ได้ และจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ส่งผลให้พฤติกรรมการเดินทางเปลี่ยนแปลงไป งานวิจัยนี้จึงมีเป้าหมายเพื่อศึกษาอิทธิพลของปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจใช้บริการขนส่งตามความต้องการ และพัฒนาแบบจำลองการตัดสินใจใช้บริการขนส่งตามความต้องการระหว่างเกิดการแพร่ระบาดของ COVID-19 ด้วยแบบสอบถาม Stated Preference จำนวน 411 ชุด ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้จำแนกเป็น 2 ปัจจัยหลัก คือ ปัจจัยด้านเศรษฐกิจและสังคม ได้แก่ เพศ อายุ อาชีพ ระดับการศึกษา สถานภาพ ระดับรายได้ และการครอบครองยานพาหนะ และปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจใช้บริการขนส่งตามความต้องการ ได้แก่ ปัจจัยด้านความสะดวกในการเข้าถึงขนส่งรูปแบบอื่น ปัจจัยด้านผู้ร่วมเดินทาง ปัจจัยด้านการรับรู้ราคาค่าโดยสาร และปัจจัยด้านระยะเวลาในการเดินทาง จากการวิเคราะห์ด้วยการถดถอยโลจิสติกแบบสองทางเลือก (Binary Logistic Regression) ทำให้ทราบถึงพฤติกรรมการตัดสินใจใช้บริการขนส่งตามความต้องการเพียง 2 ลักษณะ คือ ใช้และไม่ใช้ ดังนั้นการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกเชิงอันดับ (Ordered Logistic Regression) จะทำให้ทราบถึงพฤติกรรมการตัดสินใจใช้บริการขนส่งตามความต้องการที่สามารถบ่งบอกได้ว่า ความถี่ในการใช้บริการขนส่งตามความต้องการ ทั้งนี้การวิเคราะห์ได้แยกเป็น 2 ช่วงเวลา คือ ช่วงก่อนเกิดการแพร่ระบาดของ COVID-19 และช่วงระหว่างเกิดการแพร่ระบาดของ COVID-19 โดยพบว่า ในช่วงก่อนเกิดการแพร่ระบาดของ COVID-19 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจใช้บริการขนส่งตามความต้องการ คือ ปัจจัยด้านเวลา ปัจจัยด้านความสะดวกในการเข้าถึงขนส่งรูปแบบอื่น ปัจจัยด้านการรับรู้ราคาค่าโดยสาร และปัจจัยด้านการครอบครองยานพาหนะ และในช่วงระหว่างเกิดการแพร่ระบาดของ COVID-19 พบว่า มีปัจจัยที่มีอิทธิพลเช่นเดียวกับในช่วงก่อนเกิดการแพร่ระบาดของ COVID-19 เพียงแต่มีปัจจัยเพิ่มขึ้นมา คือ ปัจจัยด้านเพศ ที่บ่งบอกถึง ความอ่อนไหวของเพศหญิงที่มีการเลือกใช้บริการขนส่งตามความต้องการเพิ่มมากขึ้นในช่วงที่มีการแพร่ระบาดของ COVID-19en_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620631013-ประภาพร พาพิมพ์.pdf4.12 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.