Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77985
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Nuanlaor Thawinchai | - |
dc.contributor.advisor | Patraporn Sitilertpisan | - |
dc.contributor.author | Wirintorn Ruamsilp | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-06-11T00:11:58Z | - |
dc.date.available | 2023-06-11T00:11:58Z | - |
dc.date.issued | 2023-02 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77985 | - |
dc.description.abstract | The purpose of this study was to evaluate the effects of hippotherapy on pain levels, lumbopelvic mobility, and lumbopelvic stability in individuals with chronic low back pain (CLBP). The study included 36 volunteers with chronic lower back pain, divided into two groups of 18 individuals. One group underwent self-exercise training, while the other received hippotherapy plus self-exercise training for four weeks, with a six-week follow-up period. The primary outcomes were 1) pain level, 2) lumbopelvic mobility as measured by Schober's Test and inertia measurement unit (IMU), and 3) lumbopelvic stability with pressure biofeedback unit (PBU). They were assessed four times: week 0 (before treatment), week 2nd (during treatment), week 4th (after the course of treatment), and week 6th (follow-up). The study revealed that the hippotherapy plus self-exercise training group had significantly improvement in pain level (p<0.001) and lumbopelvic stability (p=0.001) compared to the self-exercise training group. Furthermore, within the hippotherapy plus self-exercise training group, there was a significantly decreased in pain level (p<0.05), and increased the lumbopelvic stability after four weeks (p=0.002) and six weeks of study (p=0.008). Therefore hippotherapy can be used to improve the efficacy of self-exercise therapy, regarding the management of individuals with chronic back pain, particularly in lowering pain and enhancing spine and pelvic stability. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.subject | Hippotherapy, Chronic low back pain, Inertia measurement unit, pressure biofeedback, VAS | en_US |
dc.title | The effects of hippotherapy on pain level and lumbopelvic motion and stability in individuals with chronic low back pain | en_US |
dc.title.alternative | ผลของอาชาบำบัดต่อระดับความเจ็บปวดและการเคลื่อนไหวและความมั่นคงของกระดูกสันหลังและเชิงกราน ในผู้ที่มีปัญหาปวดหลังส่วนล่างเรื้อรัง | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | Horsemanship -- Therapeutic use | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Backache | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Back -- Disease | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Pain | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลของอาชาบำบัดต่อระดับความเจ็บปวด และการเคลื่อนไหวและความมั่นคงของกระดูกสันหลังและเชิงกรานในผู้ที่มีปัญหาปวดหลังส่วนล่างเรื้อรัง โดยอาสาสมัครที่มีอาการปวดหลังส่วนล่างเรื้อรังทั้งหมด 36 คน แบ่งเป็น 2 กลุ่ม ๆ ละ 18 คน กลุ่มควบคุมที่ได้รับการออกกำลังกายแบบฝึกด้วยตัวเองและกลุ่มที่ได้รับอาชาบำบัดร่วมกับการออกกำลังกายแบบฝึกด้วยตัวเอง ได้รับการรักษาเป็นเวลา 4 สัปดาห์ และติดตามผลเป็นระยะเวลา 6 สัปดาห์ ผลลัพธ์หลัก ได้แก่ 1) ระดับความเจ็บปวด 2) ช่วงการเคลื่อนไหวของกระดูกสันหลังด้วย Schober’s test และ Inertia measurement unit (IMU) และ 3) ความมั่นคงของกระดูกสันหลังด้วย Pressure biofeedback unit (PBU) ได้รับการประเมิน 4 ครั้ง คือ สัปดาห์ที่ 0 (ก่อนการรักษา), 2 (ระหว่างการรักษา), 4 (เมื่อสิ้นสุดการรักษา) และ 6 (ติดตามผล) ผลการศึกษาพบว่า พบว่ากลุ่มที่ได้รับอาชาบำบัดร่วมกับการออกกำลังกายแบบฝึกด้วยตัวเองมีผลเหนือกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติทั้งระดับความเจ็บปวด (p<0.001) และความมั่นคงของกระดูกสันหลังและอุ้งเชิงกราน (p=0.001) และเมื่อเปรียบเทียบระหว่างก่อนการรักษากับหลังการรักษาเป็นเวลา 6 สัปดาห์ นอกจากนี้กลุ่มที่ได้รับอาชาบำบัดร่วมกับการออกกำลังกายแบบฝึกด้วยตัวเองมีระดับความเจ็บปวด ลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) และมีความมั่นคงของกระดูกสันหลังและอุ้งเชิงกรานเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติในสัปดาห์ที่ 4 (p=0.002) และ 6 (p=0.008) ดังนั้น อาชาบำบัดจึงเป็นทางเลือกหนึ่งที่สามารถนำไปใช้เพิ่มประสิทธิผลของการรักษาด้วยการออกกำลังกายด้วยตัวเองในผู้ที่มีอาการปวดหลังส่วนล่างเรื้อรังได้ โดยเฉพาะในการลดอาการปวดและเพิ่มความมั่นคงของกล้ามเนื้อรอบกระดูกสันหลังและอุ้งเชิงกราน | en_US |
Appears in Collections: | AMS: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
641131001-wirintorn ruamsilp.pdf | 3.25 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.