Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77969
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สร้อยสุดา วิทยากร | - |
dc.contributor.author | จักรพงศ์ หมื่นสุ | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-06-08T01:18:25Z | - |
dc.date.available | 2023-06-08T01:18:25Z | - |
dc.date.issued | 2021-04 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77969 | - |
dc.description.abstract | This research had purposes 1) to study the process of responsible collaboration among parent and paraprofessionals in using assistive technology to develop eating skill of the child with Patau Syndrome 2) to study the score of eating skill of the child with Patau Syndrome, after adjusted the usage of assistive technology by responsible collaboration among parent and paraprofessionals. The target group was selected by purposive sampling which included a child with Patau Syndrome, the parent (mother), and paraprofessional. The tools that were used in this research were; 1) behavior observation form of collaboration between parent and paraprofessional 2) assessment form of assistive 3) assessment form of eating skill 4) observation form of teaching behavior of parent 5) observation form of the child with Patau Syndrome eating skill after the teaching, for parent 6) 4 teaching plans for parents 7) 4 individual teaching plans. The researcher spent 5 weeks for observation and video recording. The data was collected from observation form, assessment form, note taking, and video recording, brought altogether to quantitative analysis and descriptive analysis. The result of research was found that responsible collaboration among parent and paraprofessionals in using assistive technology to develop eating skill in children with Patau syndrome has been divided into steps as follow, 1) collaboration in thinking and making decisions of paraprofessionals 2) coordinate thinking process among parents and paraprofessionals 3) Participation in practice and assessment that led to mutual goal 4) co-benefit. For quantitative outcomes are as follow 1) the assessment of assistive technology after adjustment was in highest level 2) parent’s teaching behavior score was in highest level 3) the child with Patau Syndrome’s eating skills after adjustment of assistive technology was in excellent level 4) the child with Patau Syndrome’s eating behavior score, according to post-teaching report was in very good level. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | Patau Syndrome | en_US |
dc.subject | การรับประทานอาหารของเด็ก | en_US |
dc.title | การมีส่วนร่วมรับผิดชอบระหว่างผู้ปกครองกับนักสหวิชาชีพ ในการใช้เทคโนโลยีสิ่งอำนวยความสะดวกเพื่อพัฒนา ทักษะการรับประทานอาหารของเด็กที่มีภาวะพาทัวซินโดรม | en_US |
dc.title.alternative | Parent-paraprofessionals collaboration in using assistive technology to develop eating skill of the child with Patau Syndrome | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | เด็ก -- โภชนาการ | - |
thailis.controlvocab.thash | อาหาร | - |
thailis.controlvocab.thash | อาหารเด็ก | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษากระบวนการมีส่วนร่วมรับผิดชอบระหว่าง ผู้ปกครองกับนักสหวิชาชีพ ในการใช้เทคโนโลยีสิ่งอำนวยความสะดวกเพื่อพัฒนาทักษะการ รับประทานอาหารของเด็กที่มีภาวะพาทัวชินโดรม 2) เพื่อศึกษาผลของคะแนนทักษะการรับประทานอาหารของเด็กที่มีภาวะพาทัวซินโครม หลังการปรับใช้เทคโนโลยีสิ่งอำนวยความสะดวก โดยการมีส่วนร่วมรับผิดชอบระหว่างผู้ปกครองกับนักสหวิชาชีพ กลุ่มเป้าหมายได้จากการเลือกแบบเจาะจง คือ เด็กที่มีภาวะพาทัวชินโครม ผู้ปกครอง(มารดา) และนักสหวิชาชีพ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1 ) แบบสังเกตรายการพฤติกรรมการมีส่วนร่วมรับผิดชอบระหว่างผู้ปกครองกับนักสหวิชาชีพ 2) แบบประเมินเทคโนโลยีสิ่งอำนวยความสะดวก 3) แบบประเมินทักษะการรับประทานอาหาร 4)แบบสังเกตรายการพฤติกรรมในการสอนของผู้ปกครอง 5) แบบสังเกตรายการพฤติกรรมการรับประทานอาหารสำหรับผู้ปกครองหลังการสอน 6 แผนการสอบสำหรับผู้ปกครอง จำนวน 4 แผน 7) แผนการสอนเฉพาะบุคคล จำนวน 4 แผน โดขผู้วิจัยใช้เวลาในการสังเกตและบันทึกวีดิทัศน์เป็นเวลา 5 สัปดาห์ ข้อมูลได้มาจากแบบสังเกตรายการพฤติกรรม แบบประเมิน การจดบันทึกและการบันทึกวิดีทัศน์ นำมาวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณและเชิงพรรณนา ผลการวิจัย พบว่า กระบวนการมีส่วนร่วมรับผิดชอบระหว่างผู้ปกครองกับนักสหวิชาชีพ ในการใช้เทคโนโถขีสิ่งอำนวยความสะดวกเพื่อพัฒนาทักษะการรับประทานอาหาร ของเด็กที่มีภาวะพาทัวชินโดรม มีลำดับขั้นตอนดังนี้ 1) การร่วมคิด ร่วมตัดสินใจของนักสหวิชาชีพ 2) ประสานพลังความคิดนักสหวิชาชีพกับผู้ปกครอง 3) การมีส่วนร่วมปฏิบัติและประเมินผลสู่เป้าหมายเดียวกัน 4) การมีส่วนร่วมรับผลประไยชน์ สำหรับผลเชิงปริมาณ คือ 1) การประเมินเทคโนโลยีสิ่งอำนวย ความสะดวกหลังการปรับ อยู่ในระดับ มากที่สุด 2 คะแนนพฤติกรรมการสอนของผู้ปกครอง อยู่ใน ระดับ มากที่สุด 3 ทักษะในการรับประทานอาหารของเด็กที่มีภาวะพาทัวชินโดรม หลังการปรับเทคโนโลยีสิ่งอำนวยความสะดวก อยู่ในระดับ ดีเยี่ยม 4 คะแนนพฤดิกรรมในการรับประทานอาหารของเค็กที่มีภาวะพาทัวชินโครมจากบันทึกหลังการสอนของผู้ปกครอง อยู่ในระดับ ดีมาก | en_US |
Appears in Collections: | EDU: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
600232074 จักรพงศ์ หมื่นสุ.pdf | 3.4 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.