Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77951
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorYos Santasombat-
dc.contributor.advisorAranya Siriphon-
dc.contributor.advisorPrasit Leepreecha-
dc.contributor.authorYutthapong Suebsakwongen_US
dc.date.accessioned2023-06-07T01:06:26Z-
dc.date.available2023-06-07T01:06:26Z-
dc.date.issued2019-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77951-
dc.description.abstractThis research focuses on the politics of space concerning spatial and discursive practices within Hmong society in responding to Thailand's political environment rooted from political history by studying contemporary social movements of the Hmong people, mainly in the Khek Noi community. To understand this political context, I started by investigating political discourse constructed by the state in claiming its power to control upland communities which I found that "hill tribe discourse" root from "civilizing discourse" was the main one to play this politics of geobody that can be traced since the age of colonial period when the French and British influenced this region. However I found that the Hmong has conducted movement and spatial practices to counter the discourses through their cultural practices which are social memories and form of stabilizing their identity and society. They have adjusted themselves since opium production via using opium as mediator to negotiate with the Thai state official and lowland Thai people before opium was eradicated and labelled, via the state authorities, as uncivilized space, even though it used to previously be part of Thailand's civilizing propelling under the Opium Department. The power of hill tribe discourse obviously represented during the Cold War situation as the power of exclusion in excluding the Hmong from the lowland society as non-Thai nationality even if I found that they received Thai nationality before the national concept of hill tribe was officially notified in 1959. The operation of tribal discursive practices came out in the form of books, articles and researches together with non-discursive practices of tribal institutions like Tribal Research Center to Tribal Research Institution and the Nikhom with their highland projects. The situation of the Cold War made the Hmong lose their homeland, their communities that were already registered as official Thai villages, because all mountainous spaces turned to the battlefield of both sides between the CPT and the government. In responding to this political environment the Hmong participated with both sides of the CPT as the fighters and members of the Productive Unit of Communist Villages and of the government as the buffer zone and militia to fight against the communist action. After the fighting ended in 1982 via the amnesty and compromising Policy of 66/23 and 66/25, development projects were launched as strategies to win communist action. Post-war land allocation and management were operated for the Hmong of both sides but it was systematic and successful for equality. This led to contemporary social movements conducted in four groups namely, the group of Phuruam Phattana Chat Thai (PPCT): the group of Khek Noi Veteran Club: The group of Khek Noi Land Committee in solving the conflict of Ratchaphatsadu Land: and the Group of Poor Farmers. I found that the result of the movement let the government pay attention but not much in solving all problems. Some monetary compensation was given to some members of the PPCT and land allocating was given to some members of Khek Noi Veteran Club. But the case of Ratchaphatsadu Land that the Hmong need the government to abolish has not been considered yet. The Group of Poor Farmers and some members of the PPCT who request land instead of money has not been resolved yet. This research reflects the assembling form of social ontology of the Hmong and their society in heterogeneous sense, which makes the society dynamic against functional and static when the social forms are changed due to the detachment of the members under the new political environment they have countered in modern Thai politics. One of its distributions is to explain how the Hmong organize their communities in response to state governing systems in the region of provinces namely, Phitsanulok, Phetchabun, and Loei to insist and prove their Thai official nationality emerged before the fire broke out in 1968.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titlePolitics of space: A Study of spatial practice and social movement of the Hmong in Thailanden_US
dc.title.alternativeการเมืองเรื่องพื้นที่: การศึกษาปฏิบัติการเชิงพื้นที่และการเคลื่อนไหวทางสังคมของชาวม้งในประเทศไทยen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshHmong (Asian people) -- Politics and government-
thailis.controlvocab.lcshLand use-
thailis.controlvocab.lcshLand tenure-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้ได้ศึกษาการเมืองเรื่องพื้นที่เกี่ยวเนื่องด้วยปฏิบัติการเชิงพื้นที่สัมพันธ์กับปฏิบัติการ เชิงวาทกรรม (discursive practice) ซึ่งมีฐานปฏิบัติการตั้งอยู่บนประวัติศาสตร์การเมืองในยุคสงคราม เย็นผ่านการเคลื่อนไหวทางสังคมร่วมสมัยที่ชาวมั้ง โดยเฉพาะชุมชนม้งเข็กน้อยได้สร้างขึ้นเพื่อ เรียกร้องให้รัฐบาลแก้ไขปัญหาที่ดิน เพื่อให้เข้าใจบริบททางการเมืองเกี่ยวเนื่องด้วยวาทกรรมซึ่งรัฐ ไทยใช้เป็นกลไกในการวางนโยบายและควบคุมชุมชนบนพื้นที่สูงของรัฐที่มีต่อชาวม้งซึ่งอาศัยอยู่ใน เขตพื้นที่ 3 จังหวัดได้แก่ พิษณุโลก เพชรบูรณ์และเลย งานวิจัยนี้จึงได้ศึกษาถึงที่มาของวาทกรรมซึ่งผู้ ศึกษาค้นพบว่า "วาทกรรมชาวเขา" อันมีมูลเหตุมาตั้งแต่สมัยยุคล่าอานานิคม (colonial period) ได้ แสดงบทบาทสำคัญในการเมืองภูมิกายา (geobody) นี้ อย่างไรก็ตามผู้ศึกษาได้ค้นพบว่าชาวม้งได้ สร้างการขับเคลื่อนทางสังคมและปฏิบัติการเชิงพื้นที่เพื่อตอบโต้กับวาทกรรมดังกล่าวผ่านปฏิบัติการ เชิงวาทกรรมซึ่งเป็นความทรงจำทางสังคมและเป็นรูปแบบของการคงสภาพของตัวตนและสังคมม้ง ในการนี้ชาวม้งได้ปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมทางการเมืองมาตั้งแต่ยุคฝิ่น โดยพวกเขาใช้ฝิ่นเป็น สื่อกลางในการต่อรองกับเจ้าหน้าที่ของไทยและประชาชนพื้นล่างก่อนที่ฝิ่นนจะถูกกำจัดและตราให้ เป็นพื้นที่ที่ไร้ซึ่งความศิวิไลซ์ ถึงแม้ว่ามันเคยเป็นส่วนหนึ่งของการขับเคลื่อนความศิวิไลซ์ภายใต้กรม ฝืนของรัฐไทย อำนาจของวาทกรรมชาวเขาได้แสดงตัวเองอย่งชัดเจนในยุคสงครามเย็น ในฐานะที่เป็นอำนาจ การแยกออก (power of exclusion) ซึ่งได้แยกชาวม้งออกจากสังคมพื้นล่างให้เป็นพวกที่ไม่ได้เป็น สัญชาติไทยถึงแม้ว่าผู้ศึกษาจะค้นพบว่าพวกเขามีสัญชาติไทขตั้งแต่ก่อนที่แนวเกิดแห่งชาติว่าด้วย ชาวเขาจะได้รับการประกาสแจ้งอย่างเป็นทางกรในปี 2502 ซึ่งปฏิบัติการทางวาทกรรมชาวเขาได้ปรากฏขึ้นในรูปแบบของหนังสือ บทความและงานวิจัย พร้อมทั้งปฏิบัติการอวาทกรรม (non-discursive practice) ในรูปแบบของสถาบันที่เกี่ยวเนื่องด้วยชาวเขาเช่น ศูนย์วิจัยชาวเขาที่เปลี่ยนมาเป็นสถาบันวิจัยชาวเขาและนิคมชาวเขาที่มาพร้อมกับโครงการบนที่สูงต่างๆ ผลของสงครามเย็นทำให้ชาวม้งต้องสูญเสียบ้านเกิดและชุมชนของตัวเองซึ่งได้รับการจัดตั้ง อย่างเป็นทางการตามทะเบียนรายฎรในฐานะหมู่บ้านทางการภายใต้รูปแบบการปกครองของรัฐไทย เนื่องจากพื้นที่ของชุมชนเหล่านั้นซึ่งตั้งอยู่บนภูเขาและป่าได้กลายเป็นสมรภูมิรบระหว่างฝ่ายพรรค คอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและฝ่ายรัฐบาล ซึ่งในสถานการณ์การเมืองแบบนี้ชาวม้งไม่สามารถ หลีกเลี่ยงที่จะเข้าร่วมกับทั้งสองฝ่าย หลังจากที่สงครามสิ้นสุดลง โดยนโยบาย 66/23 และ 66/25 โครงการพัฒนาได้ถูกกำหนดขึ้นเพื่อใช้เป็นยุทธวิธีในการเอาชนะคอมมิวนิสต์ รวมถึงการจัดสรรและ การจัดการที่ดินได้ถูกจัดทำขึ้นสำหรับชาวม้งทั้งสองฝ่ายแต่ว่าขาดการจัดการให้เป็นระบบและ ประสบผลอย่างเป็นธรรม จึงนำไปสู่การขับเคลื่อนเพื่อเรียกร้องสิทธิและความเป็นธรรมในเรื่องที่ดิน ของขาวม้งเข็กน้อยซึ่งจัดตั้งผ่านประวัดิศาสตร์การเมือง โดยผู้กระทำการ (actors) หลักๆมีทั้งหมด 4 กลุ่มได้แก่ กลุ่มผู้ร่วมพัฒนาชาติไทย กลุ่มทหารผ่านศึก กลุ่มคณะกรรมการที่ดินเข็กน้อยว่าด้วยที่ราช พัสดุและกลุ่มเกษตรกรคนจน จากการศึกษาพบว่าการขับเคลื่อนเพื่อเรียกร้องสิทธิของทั้ง 4 กลุ่มนี้ เป็นผลให้รัฐบาลและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องได้รับรู้แต่การแก้และตอบสนองกับปัญหานั้นมีอย่างจำกัด ผ่านการจัดสรรที่ดินและการชดเชยด้วยเงิน ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มจัดตั้งเหล่านี้ได้ใช้ปฏิบัติการเชิงพื้นที่ในหลายรูปแบบผ่านพื้นที่ต่างๆ เชื่อมต่อกับพื้นที่อุดมการณ์และความทรงจำ ในการประท้วง ต่อต้านและต่อรอง มีการสร้างเครือข่าย เชื่อมโยงกับองค์กรต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน การใช้สื่อออนไลน์ โซเชียลมีเดีย รวมถึงสำนักข่าว ต่างๆ ในการสร้างภาพตัวแทนและความรู้สึกร่วมเพื่อสร้างอำนาจและขยายพื้นที่ปฏิบัติการดังกล่าว กับเจ้าหน้าที่รัฐ งานวิจัยนี้จึงชี้ให้เห็นว่า ชาวม้งได้มีการเชื่อมต่อกับสังคมภายนอกผ่านการเคลื่อนไหว ทางสังคมและการเมือง จากอดีตจนถึงปัจุบัน ทำให้สังคมชาวม้งมีลักษณะเป็นสังคมแบบ โครงข่าย (Social assemblage) ซึ่งปรับเปลี่ยน ไปตามสิ่งแวดล้อมทางการเมืองและเชื่อมต่อกับสังคมอื่นอยู่ตลอด สังคมมั้งจึงไม่ได้ถูกแช่แข็งในรูปแบบของสังคมบุรพกาล (Primitive Society) ที่มักถูกนิยามผ่านวาท กรรม "ชาวเขา" ภายใต้ทฤษฎีวิวัฒนาการ (theory of evolution)en_US
Appears in Collections:SOC: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
550455904 ยุทธพงษ์ สืบศักดิ์วงศ์.pdf13.86 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.