Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77938
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorก้องภู นิมานันท์-
dc.contributor.authorธนินวิชญ์ เขียวไชยen_US
dc.date.accessioned2023-01-19T09:04:08Z-
dc.date.available2023-01-19T09:04:08Z-
dc.date.issued2022-12-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77938-
dc.description.abstractThe objective of this research was to study the Production Process Improvement of Pickled Catfish Community Enterprise Tha Sak Subdistrict Nakhon Si Thammarat Province. Based on interviews with those involved in the Pickled Catfish production process, It was found that some activities were lost in the production process, resulting in delayed delivery of goods. Therefore, it is a problem to support business expansion and open up ASEAN markets to make the production process more efficient. The scope of the study includes: 1) production efficiency, 2) Lean concept including 7Wastes, PDCA, ECRS 3) 7 QC Tools, 4) Time Study, 5) Value Analysis, 6) Production Line Balancing and Plant Layout. The study found a Problem with the drying station, it takes the most of time. Therefore, the layout of the drying plant has been adjusted to be suitable for easier and more convenient. Moreover, it has removed the fish resting process in the tank because the fish moisture has been checked and there is no need for this process. As for the raw material preparation station, there was a problem with the loss due to the production process, so the fish-knocking process was improved by knocking the fish with salt and ice at a fish pond to reduce production time and reduce 1 person in this process. As a result of the improvements, the Pickled Catfish production process was increased from 41.46 percent to 42.97 percent. The actual production time from 15.202 minutes per kilogram decreased to 12.775 minutes per kilogram And the number of employees has been reduced from 12 to 11.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการปรับปรุงกระบวนการผลิตen_US
dc.subjectวิสาหกิจชุมชนปลาดุกร้าen_US
dc.subjectProduction Process Improvementen_US
dc.titleการปรับปรุงกระบวนการผลิตของวิสาหกิจชุมชนปลาดุกร้า ตำบลท่าซัก จังหวัดนครศรีธรรมราชen_US
dc.title.alternativeProduction process Improvement of Pickled Catfish community enterprise, Tha Sak subdistrict Nakhon Si Thammarat provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashการควบคุมกระบวนการผลิต-
thailis.controlvocab.thashวิสาหกิจชุมชน -- นครศรีธรรมราช-
thailis.controlvocab.thashการปรุงอาหาร (ปลา)-
thailis.controlvocab.thashปลาดุก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเพื่อศึกษาการเพิ่มประสิทธิภาพให้กับกระบวนการผลิตปลาดุกร้าของวิสาหกิจชุมชนปลาดุกร้า ตำบลท่าซัก จังหวัดนครศรีธรรมราช เนื่องจากการสัมภาษณ์กับผู้ที่เกี่ยวข้องในกระบวนการผลิตปลาดุกร้า ของวิสาหกิจชุมชนปลาดุกร้า ตำบล ท่าซัก จังหวัดนครศรีธรรมราช ทราบว่า มีการสูญเสียบางกิจกรรมในกระบวนการผลิตส่งผลให้เกิดการส่งมอบสินค้าที่ล้าช้า จึงเป็นปัญหาที่จะรองรับธุรกิจที่จะขยายตัวและรองรับกับการเปิดตลาดอาเซียนและเพื่อที่จะให้กระบวนการผลิตมีประสิทธิภาพที่มากขึ้น โดยมีขอบเขตการศึกษาประกอบด้วยข้อมูลเกี่ยวกับ การปรับปรุงกระบวนการผลิตปลาดุกร้าของวิสาหกิจชุมชน ตำบลท่าซัก จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยประกอบไปด้วย ประสิทธิภาพของการผลิต แนวคิดแบบลีน (Lean) แนวคิดวงจรคุณภาพ PDCA ECRS แนวคิดการศึกษาเวลา ทฤษฎีการวิเคราะห์คุณค่า (Value analysis)การจัดสมดุลสายการผลิต (Production Line Balancing) แนวคิดการจัดวางผังโรงงานทำการวิเคราะห์ปัญหาและสาเหตุของกระบวนการผลิต โดยการใช้ แนวคิด แบบ 7 QC Tools และแนวคิด 7 Waste และหาแนวทางในการปรับปรุงแนวคิด จากการศึกษากระบวนการผลิตปลาดุกร้าของวิสาหกิจชุมชนปลาดุกร้า ตำบลท่าซัก จังหวัดนครศรีธรรมราช มีรายละเอียด ดังนี้ พบปัญหาที่ สถานีงานตาก ปัญหา คือ มีการใช้เวลาในการทำงานมากที่สุด โดยได้ทำการปรับปรุงผังโรงตากให้มีความเหมาะสมเพื่อให้เกิดความง่ายและสะดวกในการทำงานมากขึ้น และ กิจรรมการพักปลาในถังออกไปเพราะมีการตรวจสอบความชื้นปลาแล้วจึงไม่มีจำเป็นต้องมีในกระบวนการนี้ และในสถานีการเตรียมวัตถุดิบพบปัญหาคือ มีการสูญเสียเนื่องจากกระบวนการผลิต (Processing) ทำการปรับปรุงกระบวนการน๊อกปลา จากเดิมน๊อคปลาที่วิสาหกิจทำการเปลี่ยนเป็นให้ฟาร์มทำการน๊อกปลาโดยใส่เกลือและน้ำแข็งในถังจากหน้าบ่อปลาเพื่อลดระยะเวลาในการผลิตและลดพนักงานในกระบวนการนี้ได้ 1 คน จากการปรับปรุงสามารถเพิ่มประสิทธิภาพของกระบวนการผลิตปลาดุกร้าท่าซักจากเดิม 41.46 เปอร์เซ็นต์ ตัวเลข เพิ่มขึ้นมาเป็น 42.97 เปอร์เซ็นต์ รอบเวลาจริงของการผลิตจากเดิม 15.202 นาทีต่อกิโลกรัม ลดลงเท่ากับ 12.775 นาทีต่อกิโลกรัม และจำนวนพนักงานลดลงจากเดิม 12 คน ลดลงเหลือ 11 คนen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611532062_ธนินวิชญ เขียวไชย.pdf16.54 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.