Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77932
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorณัฐวุฒิ เนียมสอน-
dc.contributor.authorพจมาน พรหมงามen_US
dc.date.accessioned2022-12-18T04:02:09Z-
dc.date.available2022-12-18T04:02:09Z-
dc.date.issued2022-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77932-
dc.description.abstractThe purpose of this thesis was to study the change in rancidity of Khao Dawk Mali 105 (KDML105) brown rice. The experiment period was for 8 weeks and the rice samples were tested with electronic nose (e-nose) which was consisted of array of metal oxide sensors for each week. The e-nose data were compared with the chemical composition analysis with gas chromatography (GC) and the sensory testing. The results were found that the electronic nose signal was consistent with the increasing of n-Hexanal content and acceptance score from GC analysis and sensory testing. The statistical models for predict KDML105 brown rice storage time and n-Haxanal quantities were evaluated by PLS regression. The results showed that the electronic nose signals could predict the storage time and n-Haxanal quantities of KDML105 brown rice with strength of correlation coefficients, Overall liking and rancidity, R2 = 0.62, 0.52, 0.75 and 0.71 respectively.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectElectronics Noseen_US
dc.subjectBrown riceen_US
dc.subjectRancid smellen_US
dc.titleการทำนายการเกิดกลิ่นหืนระหว่างการเก็บรักษาข้าวกล้องด้วยจมูกอิเล็กทรอนิกส์en_US
dc.title.alternativeRancidity prediction during storages of brown rice using electronic noseen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashข้าวกล้อง-
thailis.controlvocab.thashข้าวกล้อง -- กลิ่น-
thailis.controlvocab.thashการควบคุมกลิ่น-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงกลิ่นหืนของข้าวกล้องขาวดอกมะลิ 105 โดยศึกษาจากข้าวกล้องพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 โดยนำตัวอย่างข้าวที่เก็บรักษาไปทดสอบกับจมูกอิเล็กทรอนิกส์ที่ประกอบขึ้นจากกลุ่มเซ็นเซอร์โลหะออกไซด์ ช่วงระยะเวลาการทดสอบ 8 สัปดาห์ แต่ละสัปดาห์จะทดสอบเก็บค่าสัญญาณไฟฟ้าที่ได้จากการตอบสนองของจมูกอิเล็กทรอนิกส์จากตัวอย่างข้าว เทียบกับผลการวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีด้วยวิธีแก๊สโครมาโทกราฟี (Gas Chromatography) และการทดสอบทางประสาทสัมผัส พบว่าเมื่อเวลาเปลี่ยนไป สัญญาณที่ได้จากจมูกอิเล็กทรอนิกส์มีค่าสัญญาณที่เปลี่ยนแปลงสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงปริมาณ n - Hexanal ที่ได้จากการวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมี และสอดคล้องกับคะแนนความชอบจากการทดสอบทางประสาทสัมผัส เมื่อวิเคราะห์ค่าทางสถิติและนำมาสร้างเป็นสมการทำนายระยะเวลาในการเกิดกลิ่นของข้าวกล้องขาวดอกมะลิ 105 พบว่า สมการทำนายระยะเวลาในการเก็บรักษาข้าวกล้องพันธุ์ข้าวดอกมะลิ 105 ปริมาณ n - Haxanal ด้วยสัญญาณจมูกอิเล็กทรอนิกส์ ค่าความชอบโดยรวม และกลิ่นหืน มีค่า R2 = 0.62, 0.52, 0.75 และ 0.71 ตามลำดับen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610631059 - Potjaman Promngam.pdf7.43 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.