Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77897
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชรินทร์ มั่งคั่ง-
dc.contributor.advisorจารุณี ทิพยมณฑล-
dc.contributor.authorวราภรณ์ ชนะจันทร์ตาen_US
dc.date.accessioned2022-12-03T07:46:56Z-
dc.date.available2022-12-03T07:46:56Z-
dc.date.issued2565-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77897-
dc.description.abstractLearning management in classroom and online formats covid-19 epidemic affecting learning in a meet-up style in the classroom. Therefore, online teaching needs to be adjusted. and realizing that a future society where social studies teachers must prepare citizens for change by being an appropriate user of information technology to create a pleasant and peaceful online community. studying theories related to Innovation of learning by Payat Wuthirong (2014). Innovation, Techniques, Design, Production, Process Application, Innovation Perspective and Phenomenon Study of Butkatunyoo's Philosophy of Learning (2018). Study the concept of project-based learning. Pitiporntaepin (2015). Organize the learning process for learning Innovation, social studies based on digital projects Study of Mangkhang and Kaewpanya's Digital Citizen Philosophy (2021) and Spatial Learning of Mangkhang (2021). to change Through real phenomena, learning realizes the care of resources and perfect spatial learning. Adopt a learning management approach from the synthesis of documents. Build a teaching model developed is called "BASICLY Model' There is a 7-step teaching process: 1) Basic:B 2) Activity:A 3) Start learning:S 4) Innovation:I 5) Comprehension:C 6) Leadership:L 7) Yourself:Y by Participatory Action research: PAR of Uthaithip (2010). Therefore, the researcher chose to focus on the use of "Problem as a base" is the beginning of learning It is a stimulus to think, analyze and solve problems for students. Problem-based learning Digital Project-Based Learning Innovation in Social Studies to Develop Digital Citizenship Skills of Primary School Students. Then study the results of social studies learning management that uses Digital Project-Based Learning Innovation in Social Studies to Develop Digital Citizenship Skills of Primary School Students. The use of learning Innovations will help learners learn with a step-by-step learning process that is an effective teaching system. Learners learn from a variety of perspectives through integrated learning. Through asking questions leads to finding answers through a collaborative problem-solving process. Solve the problem of shortage of safe, non-toxic vegetables and a safe environment. clean air Fixing fragile areas that do not have areas to grow organic vegetables for students which expands the learning scope of the learners from the classroom There is an exchange of ideas through the use of social studies learning Innovations based on digital projects. come to manage learning In terms of educational media that learners are interested in, want to know, and learn new things. Create new experiences The interaction is linked to the classroom. Practice of learners using technology to create digital media of learners. Help develop primary school students' digital citizenship skills. and building social consciousness of digital citizenship enabling learners to use their knowledge and put them into practice Apply knowledge to Digital Project-Based Learning Innovation in Social Studies to Develop Digital Citizenship Skills of Primary School Students by Yourself according to learners' aptitudes with great efficiency, use of digital media technology and adjusting methods to build learning skills and adjusting learners to be able to develop themselves throughout life Learn a lot" "Sufficiency economy" The context of spatial approach learning management for sustainable community resource management Develop digital citizenship skills students learn have the skills to understand the thinking process through learning Innovations, social studies based on digital projects Empowering Digital Intelligence Based on Ethical Responsibility participation compassion and respect for others by focusing on fairness in society, practice and maintain rules to create a balance of happy coexistence Educational management Digital Project-Based Learning Innovation in Social Studies to Develop Digital Citizenship Skills of Primary School Students. Promote knowledge KPAS skills (K) process skills (P) Objective skills (A) Social participation skills digital media by themselves. learned from learning and applied in daily life and problem solving Society and sustainable natural resource management in the future with good efficiency.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectพลเมืองดิจิทัลen_US
dc.titleนวัตกรรมการเรียนรู้สังคมศึกษาฐานโครงงานดิจิทัล เพื่อพัฒนาทักษะความเป็นพลเมืองดิจิทัลของนักเรียนชั้นประถมศึกษาen_US
dc.title.alternativeDigital project-based learning innovation in social studies to develop digital citizenship skills of primary school studentsen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashโรงเรียนเรยีนาเชลีวิทยาลัย-
thailis.controlvocab.thashสังคมศึกษา – การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)-
thailis.controlvocab.thashการสอนแบบโครงงาน-
thailis.controlvocab.thashการเรียนรู้-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการจัดการเรียนรู้ในรูปแบบห้องเรียน และออนไลน์ ด้วยสถานการณ์ โลกที่เปลี่ยนแปลง ด้วยสถานภาพต่างๆ เช่น โรคระบาดโควิด-19 กระทบต่อการเรียนในรูปแบบพบเจอกันในห้องเรียน เป็นต้น จึงต้องมีการปรับการสอนออนไลน์ และตระหนักว่าสังคมอนาคตที่ครูสังคมศึกษาจะต้อง เตรียมพลเมืองให้พร้อมต่อการเปลี่ยนแปลง โดยเป็นผู้ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างเหมาะสม เพื่อสร้างสังคมออนไลน์ที่น่าอยู่ และสงบสุข ผู้วิจัยศึกษาทฤษฎีที่เกี่ยวข้องนวัตกรรมการเรียนรู้ของ พยัต วุฒิรงค์ (2557) นวัตกรรม เทคนิค การออกแบบ การผลิต การนำเอากระบวนการมุมมอง นวัตกรรมและปรากฏการณ์การศึกษาแนวคิดปรัชญานิยมการเรียนรู้ของ Butkatunyoo (2018) ศึกษา แนวคิดการเรียนรู้ที่เกี่ยวกับโครงงานเป็นฐานของ Pitiporntaepin (2015) จัดกระบวนเรียนรู้นวัตกรรม การเรียนรู้สังคมศึกษาฐาน โครงงานดิจิทัล ศึกษาแนวคิดปรัชญาพลเมืองดิจิทัลของ Mangkhang and Kaewpanya (2021) และการเรียนรู้เชิงพื้นที่ ของแนวคิด Mangkhang (2021) เพื่อเกิดการเปลี่ยนแปลง ผ่านปรากฏการณ์ที่เป็นจริงการเรียนรู้ตระหนักถึงการดูแลทรัพยากรและการเรียนรู้เชิงพื้นที่สมบูรณ์ แบบ นำแนวทางการจัดการเรียนรู้จากการสังเคราะห์เอกสาร สร้างโมเดลการสอน ที่พัฒนาขึ้นมีชื่อ เรียกว่า "BASICLY Model"มีกระบวนการสอน 7 ขั้นตอบได้แก่ 1) ขั้นวินิจผู้เรียน Basic: B 2) ขั้น กำหนดปัญหา Activity: A 3) เรียนรู้นวัตกรรม Start learning: S 4) สร้างนวัตกรรม Innovation: I 5) แลกเปลี่ยนการเรียนรู้ Comprehension: C 6) ขั้นความรับผิดชอบชุมชน Leadership: L 7) ขั้น พลเมืองดิจิทัลสร้างสรรค์ Yourself: Y โดยการวิจัยเชิงปฏิบัติแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action rescarch: PAR) ของ อุทัยทิพย์ (2553) ดังนั้นผู้วิจัยจึงเลือกที่เน้นการใช้ "ปัญหาเป็นฐาน" เป็นจุดเริ่มต้นของการเรียนรู้ เป็นตัวกระตุ้น ให้เกิดการคิด วิเคราะห์ และแก้ปัญหาให้กับผู้เรียน การจัดการเรียนรู้โดยใช้ ปัญหาเป็นฐาน (Problem- Based Learning : PBL) การเรียนรู้ฐาน โครงงานดิจิทัล แล้วศึกษาผลการจัดการเรียนรู้สังคมศึกษาที่ใช้ นวัตกรรมการเรียนรู้สังคมศึกษาฐานโครงงานดิจิทัล การใช้นวัตกรรมการเรียนรู้จะช่วยให้ผู้เรียน เกิดการเรียนรู้แบบมีกระบวนการเรียนรู้ตามขั้นตอนที่เป็นระบบการสอนที่มีประสิทธิภาพ ผู้เรียน ได้เรียนรู้ในประเด็นมุมมองที่หลากหลายเป็นการเรียนแบบบูรณาการ ผ่านการตั้งคำถามนำไปสู่การ หาคำตอบด้วยกระบวนการแก้ปัญหาแบบร่วมมือ แก้ปัญหาการขาดแคลนผักปลอดภัยที่ไร้สารพิษ และสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัย อากาศบริสุทธิ์ แก้ไขพื้นที่เปราะบางไม่มีพื้นที่ปลูกผักออแกนิด ให้กับ ผู้เรียน ซึ่งเป็นการขยายขอบเขตการเรียนรู้ของผู้เรียนจากห้องเรียน มีการแลกเปลี่ยนความคิดผ่านการ ใช้นวัตกรรมการเรียนรู้สังคมศึกษาฐานโครงงานดิจิทัล มาจัดการเรียนรู้ ทางด้านสื่อการศึกษาที่ผู้เรียน เกิดความสนใจ อยากรู้ เรียนรู้สิ่งใหม่ สร้างประสบการณ์ที่แปลกใหม่ เกิดปฏิสัมพันธ์เชื่อมโยงเข้าสู่ ห้องเรียน การลงมือปฏิบัติของผู้เรียนการนำเทคโนโลยีสร้างสื่อดิจิทัลของผู้เรียน ช่วยพัฒนาทักษะ ทักษะความเป็นพลเมืองดิจิทัลของนักเรียนชั้นประถมศึกษา และการสร้างจิตสำนึกร่วมสังคมของ ความเป็นพลเมืองดิจิทัล ทำให้ผู้เรียนสามารถใช้ความรู้นำไปใช้ได้จริง นำความรู้ไปพัฒนา สร้างนวัตกรรมการเรียนรู้สังคมศึกษาฐาน โครงงานดิจิทัลด้วยตัวเองตามความถนัดของผู้เรียนได้อย่าง มีประสิทธิภาพที่ดี การใช้เทคโนโลยีสื่อดิจิทัล และปรับวิธีการเพื่อสร้างทักษะการเรียนรู้ และปรับตัว ผู้เรียนให้สามารถพัฒนาตนเองได้ตลอดชีวิต "สอนให้น้อย เรียนรู้ให้มาก" "เศษฐกิจพอเพียง" บริบท การจัดการเรียนรู้แบบวิธีการเชิงพื้นที่ เพื่อการจัดการทรัพยากรชุมชนอย่างยั่งยืน พัฒนาทักษะ ความเป็นพลเมืองดิจิทัล นักเรียนเกิดการเรียนรู้ มีทักษะความเข้าใจในกระบวนการคิดผ่านนวัตกรรม การเรียนรู้สังคมศึกษาฐาน โกรงงานดิจิทัล เกิดความฉลาดทางดิจิทัลบนพื้นฐานของความรับผิดชอบ ต่อการมีจริยธรรม การมีส่วนร่วม ความเห็นอกเห็นใจและเคารพผู้อื่น โดยมุ่งเน้นความเป็นธรรมใน สังคม ปฏิบัติ และรักษาไว้ซึ่งกฎเกณฑ์ เพื่อสร้างความสมดุลของการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข การจัดการศึกมานวัตกรรมการเรียนรู้สังคมสึกษาฐานโครงงานดิจิทัล เพื่อพัฒนาทักษะความเป็น พลเมืองดิจิทัลของนักเรียนชั้นประถมศึกษา ส่งเสริมทักษะ KPAS ด้านความรู้ (K) ทักษะด้าน กระบวนการ (P) ทักษะด้านคุณลักษณะอันพึ่งประสงค์ (A) ทักษะด้านการมีส่วนร่วมสังคม (S) ที่แตกต่างจากอดีตในการจัดการเรียนการสอน ผู้เรียนสามารถใช้สื่อเทคโนโลยีและสร้างสื่อดิจิทัลด้วย ตัวเอง เกิดการเรียนรู้จากการเรียนนำไปใช้ใน ชีวิตประจำวันและเกิดการแก้ปัญหา สังคมและ การ จัดการทรัพยากรธรรมชาติที่ยั่งยืนในอนาคตอย่างมีประสิทธิภาพที่ดีen_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
630232044 วราภรณ์ ชนะจันทร์ตา.pdf53.97 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.