Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77891
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เริงชัย ตันสุชาติ | - |
dc.contributor.advisor | วรพล ยะมะกะ | - |
dc.contributor.author | กิตติคุณ ปันทะช้าง | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-11-22T10:15:22Z | - |
dc.date.available | 2022-11-22T10:15:22Z | - |
dc.date.issued | 2565-10 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77891 | - |
dc.description.abstract | The purpose of this paper is to modified model for a single-valued neutrosophic hesitant fuzzy time series forecasting of the time series data, called Gaussian and bell-shaped membership functions based on single-valued neutrosophic hesitant fuzzy time series (GBMF-SVNHFTS). We also test the approximation accuracy and reliability of the studied models, and compared to Classical Fuzzy Time Series Models in forecasting University of Alabama student enrollment data. Moreover, we will forecast the daily closing prices of ten major cryptocurrencies using the proposed GBMF-SVNHFTS model and compared to the S-ANFIS, ARIMA, and LSTM methods. to analyze the appropriate investment’s proportion and risk of cryptocurrencies portfolio. Then, we applied our method to predict the ten major cryptocurrencies consisting of Bitcoin (BTC), Ethereum (ETH), Cardano (ADA), Binance Coin (BNB), Dogecoin (DOGE), Solana (SOL), Ripple (XRP), Polygon (MATIC), Polkadot (DOT), and Litecoin (LTC). The data from 17 August 2017 to 30 June 2022 were retrieved from www.yahoo.finance.com (accessed on 11 July 2022). To achieve this purpose, we improve the previously presented single-valued neutrosophic hesitant fuzzy time series (SVNHFTS) model by including several degrees of hesitancy to increase forecasting accuracy. The Gaussian fuzzy number (GFN) and the bell-shaped fuzzy number (BSFN) were used to incorporate the degree of hesitancy. The cosine measure and the single-valued neutrosophic hesitant fuzzy weighted geometric (SVNHFWG) operator were applied to analyze the possibilities and pick the best one based on the neutrosophic value. The result of improve the previously presented single-valued neutrosophic hesitant fuzzy time series (SVNHFTS) model revealed that the proposed GBMF-SVNHFTS model outperforms all other Classical Fuzzy Time Series Models in terms of RMSE, MAE and MAPE. The suggested GBMF-SVNHFTS model offers superior efficiency and accuracy evaluated in this study compared to the S-ANFIS, ARIMA, and LSTM approaches accordingly in terms of RMSE, MAE, and MAPE, according to the results of predicting the 10 biggest cryptocurrencies. The lowest variance strategy, which is based on bitcoin forecasting data from the most efficient model, gives a higher rate of return than the equal weighting strategy, according to risk analysis and portfolio management. The risk value calculated using the Value at Risk and Expected Shortfall is also lower than the risk value calculated using the same equal weighting technique. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | Cryptocurrency | en_US |
dc.subject | Forecasting | en_US |
dc.subject | Fuzzy Time Series | en_US |
dc.title | การพยากรณ์ราคาสกุลเงินดิจิทัลและการจัดพอร์ตการลงทุนโดยใช้อนุกรมเวลาฟัซซี่นิวโทรโซฟิกแบบลังเลที่มีค่าเดียว | en_US |
dc.title.alternative | Forecasting cryptocurrency price and portfolio management using Single-valued Neutrosophic Hesitant Fuzzy Time Series | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | สกุลเงินดิจิทัล | - |
thailis.controlvocab.thash | คริปโทเคอร์เรนซี | - |
thailis.controlvocab.thash | เศรษฐศาสตร์ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงแบบจำลองอนุกรมเวลาฟัซซี่นิวโทรโซฟิกแบบลังเลที่มีค่าเดียว (SVNHFTS) รวมถึงทดสอบความแม่นยำและความน่าเชื่อถือของการประมาณของแบบจำลองที่ศึกษา เปรียบเทียบกับแบบจำลองอนุกรมเวลาแบบคลุมเครือแบบดั้งเดิม (Classical Fuzzy Time Series Models) ในการพยากรณ์ข้อมูลการลงทะเบียนนักศึกษาของมหาวิทยาลัยอลาบามา นอกจากนี้ยังศึกษาถึงการพยากรณ์ทิศทางการเปลี่ยนแปลงของราคาสกุลเงินดิจิทัล โดยใช้แบบจำลองอนุกรมเวลาฟัซซี่นิวโทรโซฟิกแบบลังเลที่มีค่าเดียวแบบประยุกต์ร่วมกับฟังก์ชันแบบเกาส์เซียนและฟังก์ชันแบบระฆังคว่ำ (GBMF-SVNHFTS) โดยแบบจำลองที่ใช้ในการเปรียบเทียบประสิทธิภาพความแม่นยำ ประกอบด้วย แบบจำลองอารีมา (ARIMA) และแบบจำลอง Sugeno-ANFIS และวิเคราะห์การจัดพอร์ตการลงทุนที่เหมาะสมที่สุดในสกุลเงินดิจิทัล ในการศึกษานี้ จะใช้ข้อมูลราคาซื้อขายทันทีของตลาดสกุลเงินดิจิทัลที่เป็นสกุลเงินดิจิทัลที่มีมูลค่าตลาดสูงและนักลงทุนให้ความสนใจมากที่สุด 10 ตลาด ได้แก่ Bitcoin (BTC) Ethereum (ETH) Binance Coin (BNB) Cardano (ADA) Solana (SOL) XRP (XRP) Polkadot (DOT) Shiba Inu (SHIB) Dogecoin (DOGE) และ Litecoin (LTC) โดยข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้เป็นข้อมูลรายวัน ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2560 ถึง 31 มิถุนายน 2565 เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของการศึกษา เราได้ประยุกต์ใช้ฟังก์ชันสมาชิกแบบเกาส์เซียนและฟังก์ชันสมาชิกแบบระฆังคว่ำ ร่วมกับอนุกรมเวลาฟัซซี่นิวโทรโซฟิกแบบลังเลที่มีค่าเดียว (SVNHFTS) เพื่อรวมระดับของความลังเลใจในการแสดงถึงความลังเลใจของการเคลื่อนไหวของข้อมูลได้ดียิ่งขึ้น ซึ่งจะทำให้การพยากรณ์มีความแม่นยำมากขึ้น อีกทั้งในการพัฒนาแบบจำลองนี้ยังได้ใช้การวัดค่าโคไซน์และตัวดำเนินการทางเรขาคณิตถ่วงน้ำหนักแบบฟัซซี่ถ่วงน้ำหนักแบบค่านิวโทรโซฟิกที่มีค่าเดียว (SVNHFWG) ถูกใช้เพื่อจัดอันดับตัวเลือกและค้นหาตัวเลือกที่เหมาะสมที่สุดตามค่านิวโทรโซฟิก ซึ่งเปรียบเทียบประสิทธิภาพของแบบจำลองโดยใช้สมการสูญเสีย ทั้งหมด 3 สมการ ประกอบด้วย RMSE MAE และ MAPE เป็นต้น ผลการศึกษาการปรับปรุงแบบจำลองอนุกรมเวลาฟัซซี่นิวโทรโซฟิกแบบลังเลที่มีค่าเดียว (SVNHFTS) พบว่า แบบจำลอง GBMF-SVNHFTS ให้ผลการพยากรณ์ที่มีประสิทธิภาพ และความแม่นยำมากกว่าแบบจำลองอนุกรมเวลาแบบคลุมเครือแบบดั้งเดิม (Classical Fuzzy Time Series Models) ทุกแบบจำลอง ในการพยากรณ์ข้อมูลการลงทะเบียนนักศึกษาของมหาวิทยาลัยอลาบามา ผลการพยากรณ์ในราคาสกุลเงินดิจิทัล พบว่า แบบจำลอง GBMF-SVNHFTS ให้ผลการพยากรณ์ที่มีประสิทธิภาพ และความแม่นยำสูงที่สุด รองลงมาคือ แบบจำลอง ARIMA แบบจำลอง Sugeno-ANFIS และแบบจำลอง LSTM ตามลำดับ สำหรับผลการศึกษาความเสี่ยงและการจัดพอร์ตลงทุน จากการพยากรณ์ ณ ที่เวลา t+1 ของราคาสกุลเงินดิจิทัลแต่ละเหรียญ พบว่า การจัดพอร์ตลงทุนด้วยวิธีความแปรปรวนต่ำที่สุด ให้อัตราผลตอบแทนที่เหมาะสมกว่าการจัดพอร์ตลงทุนด้วยวิธีถ่วงน้ำหนักเท่ากัน และจากการคำนวณค่ามูลค่าความเสี่ยง (VaR) และมูลค่าความเสียหายส่วนเกิน (ES) พบว่า การจัดพอร์ตลงทุนด้วยวิธีถ่วงน้ำหนักเท่ากัน ให้ค่ามูลค่าความเสี่ยงสูงกว่าการจัดพอร์ตลงทุนด้วยวิธีความแปรปรวนต่ำที่สุด | en_US |
Appears in Collections: | ECON: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
631631012-กิตติคุณ ปันทะช้าง.pdf | 2.8 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.