Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77846
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเทียม ศรีคำจักร์-
dc.contributor.advisorอนุชาติ เขื่อนนิล-
dc.contributor.authorเรวดี สุทธาชัยen_US
dc.date.accessioned2022-11-10T10:16:33Z-
dc.date.available2022-11-10T10:16:33Z-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77846-
dc.description.abstractThe purposes of this study were to develop and to examine the psychometric properties of Thai Sensory Patterns Assessment (TSPA) tool for children aged 3-12 years: caregiver - version. The study process consisted of a draft questionnaire of children’s behavior response of sensory stimuli in daily life divided into two parts, part 1 - sensory preference and part 2 - sensory arousal. In each part, there were sixes sensory modalities: sight, sound, smell and taste, touch, vestibular and proprioceptive. The content validity was validated by five experts. The construct validity and internal consistency reliability were examined using data from 414 caregivers of normal children, and intra-rater reliability was evaluated using data from 40 caregivers. The results showed that 1) the TSPA tool for children is a questionnaire report by caregiver with the retained 65 items, 35 items in sensory preference part and 30 items in sensory arousal part. 2) the psychometric properties of TSPA tool for children showed that the content validity index of item-objective congruence was between 0.8-1.00. To establish construct validity, the factor loading in part 1 and 2 were 0.505 - 0.804 and 0.433 - 0.791, respectively. Internal consistency, Cronbach’s alpha coefficient was 0.92 in part 1 and 0.81 in part 2. The intra-rater reliability showed intraclass correlation coefficient was 0.74 in part 1 and 0.79 in part 2. Based on the overall validity and reliability of this tool, it is considered acceptable.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการพัฒนาเครื่องมือประเมินรูปแบบการรับความรู้สึกฉบับภาษาไทยในเด็กอายุ 3-12 ปี สำหรับผู้ดูแลen_US
dc.title.alternativeDevelopment of Thai sensory patterns assessment tool for children aged 3-12 Years: Caregiver – Versionen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashกิจกรรมบำบัด-
thailis.controlvocab.thashกิจกรรมบำบัดสำหรับเด็ก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือประเมินรูปแบบการรับความรู้สึกฉบับภาษาไทยในเด็กอายุ 3-12 ปี สำหรับผู้ดูแล ขั้นตอนการศึกษาประกอบด้วย สร้างข้อคำถามเกี่ยวกับพฤติกรรมการตอบสนองต่อสิ่งเร้าทางการรับความรู้สึกของเด็กในชีวิตประจำวัน แบ่งเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1: ความชอบต่อสิ่งเร้าทางการรับความรู้สึก ส่วนที่ 2: ความตื่นตัวต่อสิ่งเร้าทางการรับความรู้สึก แต่ละส่วนประกอบด้วยการรับความรู้สึก 6 ด้าน ได้แก่ การมองเห็น การได้ยิน การดมกลิ่นและรับรส กายสัมผัส การทรงตัว และการรับความรู้สึกจากกล้ามเนื้อเอ็นและข้อต่อ ดำเนินการตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาโดยผู้เชี่ยวชาญ 5 ท่าน ตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้างและความเชื่อมั่นแบบความสอดคล้องภายในกับกลุ่มตัวอย่างผู้ดูแลเด็กปกติจำนวน 414 คน และตรวจสอบความเชื่อมั่นภายในผู้ประเมินกับผู้ดูแล 40 คน ผลการศึกษา พบว่า 1) เครื่องมือประเมินรูปแบบการรับความรู้สึกในเด็ก มีลักษณะเป็นแบบสอบถามผู้ดูแลจำนวน 65 ข้อ แบ่งเป็นส่วนที่ 1 จำนวน 35 ข้อ และส่วนที่ 2 จำนวน 30 ข้อ 2) คุณภาพของเครื่องมือประเมิน พบว่า ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหามีค่าดัชนีความสอดคล้องรายข้อคำถามอยู่ระหว่าง 0.8-1.0 ความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้างมีค่าน้ำหนักองค์ประกอบในส่วนที่ 1 อยู่ระหว่าง 0.505 - 0.804 และส่วนที่ 2 อยู่ระหว่าง 0.433 - 0.791 ความเชื่อมั่นแบบความสอดคล้องในทั้งฉบับมีค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาส่วนที่ 1 เท่ากับ 0.92 และส่วนที่ 2 เท่ากับ 0.81 และความเชื่อมั่นภายในผู้ประเมินทั้งฉบับมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ภายในชั้นส่วนที่ 1 เท่ากับ 0.74 ส่วนที่ 2 เท่ากับ 0.79 สรุปผลการศึกษาได้ว่าเครื่องมือประเมินฉบับนี้มีความเที่ยงตรงและความเชื่อมั่นโดยรวมอยู่ในระดับที่ยอมรับได้en_US
Appears in Collections:AMS: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
631131005-เรวดี สุทธาชัย.pdf631131005-เรวดี สุทธาชัย3.48 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.