Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77845
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วรัทยา ชินกรรม | - |
dc.contributor.advisor | กัญญ์สุดา นิ่มอนุสสรณ์กุล | - |
dc.contributor.author | ชลิดา กันธามณี | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-11-10T09:58:27Z | - |
dc.date.available | 2022-11-10T09:58:27Z | - |
dc.date.issued | 2022-10 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77845 | - |
dc.description.abstract | This thesis aims to analyze the situation and the relationship among the consumption of nonrenewable energy, renewable energy, carbon emissions and economic growth in OECD countries. The study used descriptive statistic to analyze the situation and the panel vector autoregressive with exogenous variables model to analyze the relationship among the consumption of nonrenewable energy, renewable energy, carbon emissions and economic growth of 37 OECD member countries from 1995 – 2015. The results showed that the past of GDP per capita and gross capital formation were resulted in economic growth has a positive effect. Meanwhile the consumption of nonrenewable energy was resulted in economic growth has a negative effect. In addition, the consumption of nonrenewable energy and GDP per capita squared were resulted in carbon emissions have a positive effect. Meanwhile the past of GDP per capita, the past of carbon emissions and the consumption of renewable energy were resulted in carbon emissions have a negative effect. However, the study also showed that the study was inconsistent with the environmental kuznets curve hypothesis. It is suggested that the government should increase the cost or tax on carbon emissions to create incentives for the general public and businesses to reduce nonrenewable energy consumption and increase the consumption of renewable or clean energy. In addition, investment promotion policies and investment stimulus measures should be applied to the public and business sectors. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | Panel VAR | en_US |
dc.subject | Panel VARX | en_US |
dc.title | การบริโภคพลังงานสิ้นเปลือง พลังงานหมุนเวียน การปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์และการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ของกลุ่มประเทศโออีซีดี | en_US |
dc.title.alternative | The Consumption of Nonrenewable Energy, Renewable Energy, Carbon Emissions and Economic Growth in OECD Countries | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | พลังงาน | - |
thailis.controlvocab.thash | การพัฒนาเศรษฐกิจ | - |
thailis.controlvocab.thash | เศรษฐศาสตร์ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์สถานการณ์และวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างการใช้พลังงานสิ้นเปลือง พลังงานหมุนเวียน การปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์และการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของกลุ่มประเทศโออีซีดี การศึกษาใช้สถิติพรรณนาเพื่อวิเคราะห์สถานการณ์และใช้แบบจำลอง Panel Vector Autoregressive with Exogenous Variables เพื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างการใช้พลังงานสิ้นเปลือง พลังงานหมุนเวียน การปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์และการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของ 37 ประเทศสมาชิกโออีซีดี ระหว่างปี พ.ศ.2538 ถึง พ.ศ.2558 รวมทั้งสิ้น 21 ปี ผลการศึกษาพบว่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศต่อหัวในอดีต และการลงทุนรวมส่งผลให้การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจมีการเจริญเติบโตทิศทางบวก ในขณะเดียวกัน การบริโภคพลังงานสิ้นเปลืองส่งผลให้การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจมีการเจริญเติบโตทิศทางลบ นอกจากนี้ยังพบว่าปริมาณการบริโภคพลังงานสิ้นเปลือง และผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศกำลังสองส่งผลให้ปริมาณการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์มีทิศทางการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ในทางบวก ในขณะเดียวกัน ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศต่อหัวในอดีต ปริมาณการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ในอดีต และการบริโภคพลังงานหมุนเวียนส่งผลให้ปริมาณการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์มีทิศทางการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ในทางลบ อย่างไรก็ตาม ผลการศึกษายังแสดงว่าการศึกษาไม่เป็นไปตามสมมติฐานเส้นโค้งสิ่งแวดล้อมคุซเน็ตส์ ดังนั้นจึงมีข้อเสนอแนะให้ภาครัฐควรเพิ่มต้นทุนหรือการเก็บภาษีการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ เพื่อสร้างแรงจูงใจให้กับประชาชนทั่วไปและภาคธุรกิจให้ลดการบริโภคพลังงานสิ้นเปลือง และเพิ่มการบริโภคพลังงานหมุนเวียนหรือพลังงานสะอาด รวมถึงควรใช้นโยบายส่งเสริมการลงทุนและมาตรการกระตุ้นการลงทุนแก่ประชาชนและภาคธุรกิจ | en_US |
Appears in Collections: | ECON: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
631631002 ชลิดา กันธามณี.pdf | 16.39 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.