Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77840
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorไชยันต์ สกุลศรีประเสริฐ-
dc.contributor.authorภัทรานิษฐ์ สุกใสen_US
dc.date.accessioned2022-11-06T03:42:00Z-
dc.date.available2022-11-06T03:42:00Z-
dc.date.issued2022-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77840-
dc.description.abstractThe objective of this research was to develop and validate a structural model of difficulties in emotion regulation and alcohol-related problems which haddrinking motives as mediatingfactors in university students. Thirty hundred and eighty-five undergraduates were selected based on inclusion criteriaof being over 18 years old and having drunk alcohol in the previous 12 months. The research instruments werethe demographic questionnaire, the drinking behavior questionnaire, the Difficulties in Emotion Regulation Scale, the Drinking Motives Questionnaire-Revised (DMQ-R), and DrinkingRelated Problems Scale for College Students (DPS-C). These four questionnaires have a reliability range from 0.708 to 0.945 The results indicated that the hypothesized model had a good fit with empirical data (!2 /"# = 0.028, RMSEA < 0.001, CFI = 1.000, TLI = 1.000, SRMR = 0.001). Additionally, the path analysis demonstrated that 1) the 4-factor drinking motives were directly influenced by difficulties in emotion regulation, 2) coping motive and enhancement motive were statistically significant direct effects on alcohol-related problems among college students, and 3) the relationship between difficulties in emotion regulation on alcohol-related problems was mediated by coping motive (IE = 0.122) and enhancement motive (IE = 0.029).en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความยากลำบากในการกำกับอารมณ์และปัญหาจากการดื่ม แอลกอฮอล์ของนักศึกษา: บทบาทของแรงจูงใจในการดื่มในฐานะตัวแปรส่งผ่านen_US
dc.title.alternativeDifficulties in emotion regulation and alcohol-related problems among collegestudents: the mediating role of drinking motivesen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์-
thailis.controlvocab.thashการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์-
thailis.controlvocab.thashนักศึกษา -- การดำเนินชีวิต-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและตรวจสอบความตรงของแบบจำลองความสัมพันธ์ ระหว่างความยากลำบากในการกำกับอารมณ์และปัญหาจากการดื่มแอลกอฮอล์ของนักศึกษาที่มี แรงจูงใจในการดื่มแอลกอฮอล์เป็นตัวเปรส่งผ่าน กลุ่มตัวอย่างจำนวน 385 คน เป็นนักศึกษาระดับ ปริญญาตรี เกณฑ์คัดเข้าเบื้องต้นคือ ต้องมีอายุมากกว่าหรือเท่ากับ 18 ปีบริบูรณ์ และเคยดื่ม แอลกอฮอล์ในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมา เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาประกอบด้วยแบบสอบถามข้อมูล ทั่วไปของกลุ่มตัวอย่างแบบสอบถามความยากลำบากในการกำกับอารมณ์ 3) แบบสอบถามเกี่ยวกับ แรงจูงใจในการดื่มแอลกอฮอล์ และ 4) แบบสอบถามปัญหาจากการดื่มแอลกอฮอล์ของนักศึกษา โดย แบบสอบถามที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้มีค่าความเที่ยงอยู่ระหว่าง 0.708 ถึง 0.945 ผลการศึกษาพบว่าแบบจำลองสมมุติฐานมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ดี (X2/df= 0.028, RMSEA < 0.001, CFI = 1.000, TLI = 1.000, SRMR = 0.001) นอกจากนี้การวิเคราะห์เส้นทาง อิทธิพลแสดงให้เห็นว่า 1) ความยากลำบากในการกำกับอารมณ์มีอิทธิพลทางตรงกับแรงจูงใจใน การดื่มทั้ง 4 ด้าน และ 2) แรงจูงใจในการดื่มเพื่อลืมปัญหาและแรงจูงใจในการดื่มเพื่อเพิ่มอารมณ์เชิง บวกมีอิทธิพลทางตรงกับปัญหาจากการดื่มแอลกอฮอล์ของนักศึกษาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และ 3) ความสัมพันธ์ระหว่างความยากลำบากในการกำกับอารมณ์กับปัญหาจากการดื่มแอลกอฮอล์ของ นักศึกษาถูกส่งผ่าน โดยแรงจูงใจในการดื่มเพื่อลืมปัญหา (IE = 0.122) และแรงจูงใจในการดื่มเพื่อเพิ่ม อารมณ์ทางบวก (IE = 0.029)en_US
Appears in Collections:HUMAN: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
600132021 ภัทรานิษฐ์ สุกใส.pdf3.84 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.