Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77835
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ศิริตรี สุทธจิตต์ | - |
dc.contributor.author | กนิษฐา นิ่มสกุล | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-11-05T09:39:40Z | - |
dc.date.available | 2022-11-05T09:39:40Z | - |
dc.date.issued | 2563-11 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77835 | - |
dc.description.abstract | This study aimed to explore and analyze complexity of the spreading of harm reduction service in community hospitals, Mae Hong Son province. The service has been effectively implemented in Thanyarak Hospitals, but many problems and barriers has been found at the operational level in community hospitals. The study was divided into two phases. The first phase was to explore complexity of the spreading of harm reduction service in two community hospitals in Mae Hong Son: Pang Mapha and Mae La Noi. Data were collected by in-depth interview in compliance with 7 domains of a modified Non-adoption, Abandonment, Scale-up, Spread and Sustainability (NASSS) framework: condition, technology, adopter system, value proposition, healthcare organization, wider system, embedding and adaptation over time. Participants were recruited by purposive sampling, included 7 team leaders, 13 adopters, and 1 NGO as a wider system. Interview data were interpreted and conclusion were drawn according to the study framework. The second phase was to analyze complexity level of the spreading of harm reduction clinic identified from the first phase by applying the NASSS framework using Delphi technique with 17 experts. Data collection period were from February to September 2020. The results showed that the spreading of harm reduction service in community hospitals in Mae Hong Son manifested all complex, complicate, and simple domains. The complex domain found in this study were as follows. Firstly, opioid addiction in this area caused by various factors and treatment outcomes were varied depending on readiness of individual patients. Secondly, wider system showed difficulties in operating Needles and Syringe Program ( NSP) and Methadone Maintenance Treatment ( MMT) due to the inconsistency of the service and the context of community and other organizations outside the Ministry of Public Health. Lastly, there was an emerging situation, e.g. an implementation of unplanned teleconsulting system as an adaptation after some job rotation of operating personnel occured. Complicate domain found in this study included need of various resources and specific knowledge for running a harm reduction service, and hospital personnel were anxious of their own operating capacity. Moreover, the community hospitals needed to adapt their work process and resource management in readiness for operating the harm reduction service. Simple domain was found as the value of demand and supply that led to patients' satisfaction with the service. In conclusion, by consideration of the following details, possibility of success and sustainability of the spreading of harm reduction service in the areas other than Thanyarak Hospitals could be enhanced. Such the consideration can be an establishment of work plan for the complicate domain, as well as preparation for an emerging situation in the complex domain. These could be done by the Thanyarak Hospitals make a contribution to the community hospitals before starting any project regarding drug addiction. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การวิเคราะห์ความซับซ้อนของการขยายผลการจัดบริการลดอันตรายจากการใช้ยาเสพติดสู่การปฏิบัติในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดแม่ฮ่องสอน | en_US |
dc.title.alternative | Complexity analysis in the spreading of harm reduction service in Community Hospital, Mae Hong Son | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | โรงพยาบาลธัญญารักษ์ | - |
thailis.controlvocab.thash | ยาเสพติด | - |
thailis.controlvocab.thash | โรงพยาบาลชุมชน | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การวิจัยนี้มีวัดถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์และวิเคราะห์ความชับซ้อนของการขยายผล การจัดบริการลดอันตรายจากการใช้ยาเสพติดสู่การปฏิบัติในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดแม่ฮ่องสอน ซึ่งบริการดังกล่าวสามารถดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพในโรงพยาบาลธัญญารักษ์ แต่กลับพบ ปัญหาและอุปสรรคใบการดำเนินงานในโรงพยาบาลชุมชน การวิจัยแบ่งเป็น 2 ระยะ ระยะที่ 1 ศึกษาสถานการณ์ของการขยายผลการจัดบริการลด อันตรายจากการใช้ยาเสพติดในโรงพยาบาลปางมะผ้า และโรงพยาบาลแม่ลาน้อย จังหวัดแม่ฮ่องสอน เก็บข้อมูลใดยการสัมภาษณ์เชิงลึกตามกรอบแนวคิดซึ่งดัดแปลงจากแนวคิด Non-adoption, Abandonment, Scale-up, Spread and Sustainability (NASSS) ประกอบด้วย 7 องค์ประกอบ ได้แก่ การเสพติดสารกลุ่มโอปิออยด์ บริการลดอันตรายจากการใช้ยาเสพติด การยอมรับของกลุ่มผู้ ดำเนินงานในโรงพยาบาลชุมชนและผู้ป่วย คุณค่าของบริการลดอันตรายจากการใช้ยาเสพติด ความ พร้อมของโรงพยาบาลชุมชนในการจัดบริการลดอันตรายจากการใช้ยาเสพติด บริบททางสังคม นโยบายและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับบริการลดอันตรายจากการใช้ยาเสพติด และการแก้ไขปัญหาอย่าง ยั่งยืน คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง แบ่งเป็น ผู้จัดทำโครงการ 7 คน, กลุ่มผู้ดำเนินงาน 9 คน , ผู้รับบริการ 4 คน, ภาคประชาสังคม 1 คน วิเคราะห์ข้อมูล โดยการตีความและสร้างข้อสรุปดาม กรอบแนวคิดการวิจัย ระยะที่ 2 วิเคราะห์ความซับซ้อนของสถานการณ์จากระยะที่ 1 โดยผู้วิจัยจำแนก ระดับความซับซ้อนอ้างอิงจากแนวคิด NASSS และให้ผู้เชี่ยวชาญ 17 คนร่วมแสดงความคิดเห็นต่อ การจำแบกระดับโดยใช้เทคนิคเดลฟาย เก็บข้อมูลตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - กันยายน 2563 ผลการวิจัยพบว่า การขยายผลการจัดบริการลอันตรายจากการใช้ยาเสพติดสู่การปฏิบัติใน โรงพยาบาลชุมชน จังหวัดแม่ฮ่องสอน มีทั้งองค์ประกอบที่มีความซับซ้อน ความยาก และง่าย องค์ประกอบที่มีความชับซ้อน ได้แก่ การเสพติดสารกลุ่มโอปิออยด์ที่เกิดได้จากหลายเหตุปัจจัยและ ผลการรักษาสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามระดับความพร้อมของผู้ป่วย บริบททางสังคมซึ่งพบความไม่ สอดคล้องในการดำเนินงานกับชุมชนหรือหน่วยงานนอกสังกัดกระทรวงสาธารณสุขในการ ให้บริการเข็มสะอาดสำหรับฉีดยาเสพติดและเมทาโดนระยะยาว และการแก้ไขปัญหาอย่างยั่งยืนซึ่ง พบสถานการณ์ที่ผุดบังเกิดขึ้นระหว่างการขยายผล เช่น การย้ายงานของเจ้าหน้าที่หลักที่ดำเนินการทำ ให้เกิดการสร้างระบบขอรับคำปรึกษาระยะไกล โดยไม่ใด้วางแผนไว้ก่อนเริ่มดำเนินการ องค์ประกอบ ที่มีความยาก ได้แก่ ลักษณะของคลินิกลดอันตรายจากยาเสพติดที่ใช้ทรัพยากรในการดำเนินงานหลาย ด้านและต้องการองค์ความรู้เฉพาะทางในการดำเนินงาน การยอมรับของกลุ่มผู้ดำเนินงานใน โรงพยาบาลชุมชนที่ยังคงกังวลถึงศักยภาพของตนเองในการดำเนินงาน และความพร้อมของ โรงพยาบาลชุมชนซึ่งต้องปรับเปลี่ยนกระบวนงานเดิมและบริหารจัดการทรัพยากรให้เพียงพอต่อการ ดำเนินการ องค์ประกอบที่ง่าย ได้แก่ คุณค่าด้านอุปทานและอุปสงค์ทำให้ผู้ป่วยมีความพึงพอใจที่ดีต่อ บริการดังกล่าว การสามารถสร้างแผนงานสำหรับองค์ประกอบที่มีความยาก และเตรียมพร้อมกับสถานการณ์ ที่อาจผุดบังเกิดในองค์ประกอบที่มีความซับช้อน โดยมีโรงพยาบาลธัญญารักษ์เป็นผู้สร้างแผนงาน และเตรียมความพร้อมให้แก่โรงพยาบาลชุมชนก่อนเริ่มดำเนินการด้านยาเสพติด การพิจารณาถึง ความซับซ้อนขององค์ประกอบเหล่านี้จะช่วยเพิ่มโอกาสความสำเร็จและความยั่งยืนในการขยายผล การจัดบริการลดอันตรายจากการใช้ยาเสพติดไปใช้ในพื้นที่อื่น | en_US |
Appears in Collections: | PHARMACY: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
611031004 กนิษฐา นิ่มสกุล.pdf | 2.97 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.