Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77834
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Pensak Jantrawut | - |
dc.contributor.advisor | Warintorn Ruksiriwanich | - |
dc.contributor.advisor | Sarana Sommano | - |
dc.contributor.author | Tanpong Chaiwarit | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-11-05T09:37:52Z | - |
dc.date.available | 2022-11-05T09:37:52Z | - |
dc.date.issued | 2021-09 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77834 | - |
dc.description.abstract | This study aimed to utilize ripe mango (Mangifera indica cv. Nam Dokmai) peel by-product as a source of a low methoxy! pectin produced by de-esterification for pharmaceutical applications. In this study, pectin from mango peel (MPP) was extracted by microwave-assisted extraction and analyzed its physicochemical properties in comparison with commercial low methoxyl pectin (LMP) possessing 29% degree of esterification (DE). The results revealed that MPP contained 75% galacturonic acid (GalA). Its DE determined by titration and 'H NMR was 79% which classified the MPP as a high methoxyl pectin (HMP). In FTIR spectra, the carboxymethyl ester (1732 cm-1) and free carboxylic peaks (1637 and 1404 cm-1) were observed in both LMP and MPP. Furthermore, specific different bands did not appear in comparison between LMP and MPP. Both LMP and MPP exhibited same pattern of TGA curves displaying 3 regions. Water sorption kinetics showed that LMP possessed higher adsorption capacity than MPP. The Guggenheim-Anderson-de Boer (GAB) model showed that the LMP exhibited higher water sorption than MPP did because of the higher number of carboxylic groups. De-esterification experiment was designed by central composite design to plot surface response curve. Optimal condition to obtain 29% DE was 3.05 mL of 1 N NaOH at 25'C. The prepared de-esterified pectin (DP) from MPP was classified as LMP (29.40 % DE) with 69 % GalA. The prepared de-esterified pectin (DP) was compared to commercial LMP with 29 % of degree of esterification (DE). FTIR spectra of DP was similar LMP and MPP. Moreover, the spectra indicated that pectin backbone was not changed by de-esterification process. The carboxymethyl ester (1740 cm-1) and free carboxylic (1600 and 1420 cm-1) peaks ere also observed in DP, LMP and MPP. Interestingly, LMP and DP films exhibited insignificant difference (p > 0.05) in puncture strength (13.72 ± 1.85 and 11.13 t 0.64 N/mm2 for LMP and DP films, respectively), percent elongation (2.75 ± 0.29 and 2.52 ± 0.44 % for LMP and DP films, respectively) and Young's modulus (67.69 ± 3.35 and 61.79 ± 4.45 N/mmP for LMP and DP films, respectively). De-esterified pectin containing clindamycin HCI (DPC) and low methoxyl pectin containing clindamycin HC1 (LMPC) films demonstrated 93.47 ± 4.71 and 98.79 ± 2.69 % of drug loading content, respectively. Mechanical properties of LMPC and DPC films were improved perhaps by their crystal structures and a plasticizing effect of clindamycin HC1 loaded into the films. DPC film exhibited similar drug release profile as compared with LMPC film. In antibacterial test, LMPC film showed 41.11 ± 0.33 and 76.30 ± 0.98 mm of growth inhibition zones against S. aureus and C. acnes, respectively. Whereas DPC film showed 40.78 ± 0.37 and 74.04 ± 1.12 mm of the growth inhibition zones against S. aureus and C. acnes, respectively. Antibacterial activity of the LMPC film, the DPC film and clindamycin commercial product was not significantly different (p > 0.05). The results of this study suggest that mango peel pectin can be de-esterified and utilized as an LMP and the de-esterified pectin has the potential for use as a film forming agent, similar to LMP. In addition, the remarkable use of de-esterified mango peel pectin to prepare films, as shown by our study, holds a great promise as an alternative material for an anti-bacterial product. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.title | Use of Nam Dokmai ripe mango peel waste as a potential source of pectin, and its pharmaceutical applications | en_US |
dc.title.alternative | การนำวัสดุเหลือทิ้งจากเปลือกมะม่วงน้ำดอกไม้สุกมาใช้เป็นแหล่งของเพกติน และการประยุกต์ใช้ในทางเภสัชกรรม | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | Mango -- Nam Dokmai | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Pharmaceutical technology | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Pectin | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Medicinal plants | - |
thesis.degree | doctoral | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ประโยชน์จากเปลือกมะม่วงน้ำดอกไม้สุก (Mangifera indica cv. Nam Dokmai) ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์พลอยได้เป็นแหล่งของเพกตินชนิดเมทอกซิลต่ำ ซึ่งผลิตโดย กระบวนการสลายหมู่เอสเทอร์ สำหรับประยุกต์ใช้ในทางเภสัชกรรม ในการศึกษานี้ทำการสกัด เพกตินจากเปลือกมะม่วง (Mango peel pectin: MPP) โดยการสกัดด้วยไมโครเวฟ และทำการศึกษา โดยวิธีทางการวิเคราะห์ และเคมีกายภาพ โดยทำการเปรียบเทียบกับแพกดินชนิดเมทอคซิลต่ำที่มี จำหน่ายในท้องตลาด (Low methoxyl pectin: LMP) ซึ่งมีค่าเอสเทอริฟิเคชันเท่ากับ 29% จากการศึกษา พบว่า MPP นั้นมีค่าน้ำตาลกรดกาแล็กทูโรนิกเท่ากับ 75%โดยน้ำหนัก และมีค่าเอสเทอริฟิเคชันซึ่งได้ จากการไทเทรต และโปรตอนนิวเคลียร์แมกนีทิกเรโซแนนซ์ เท่ากับ 79% ซึ่งทำให้ MPP จัดประเภท เป็นเพกตินชนิดเมทอกซิลสูง (High methoxyl pectin: HMP) สเปกตรัมจากการศึกษาด้วยเทคนิค ฟูเรียร์ทรานส์ฟอร์มอินฟราเรดสเปกโตรสโกปีแสดงให้เห็นว่าทั้ง MPP และ LMP มีหมู่คาร์บอกซิล เมทิลเอสเทอร์ (1732 cm-1) และหมู่คาร์บอกซิลิก (1637 and 1404 cm-1) นอกจากนี้ยังไม่พบการ เปลี่ยนแปลงของเส้นกราฟอย่างเฉพาะเจาะจงในการเปรียบเทียบระหว่าง LMP และ MPP ทั้ง LMP และ MPP แสดงลักษณะของเส้นกราฟเทอร์โมกราวิเมตรี ที่เหมือนกัน โดยแบ่งได้เป็น 3 ส่วน แบบจำลอง จลนพลศาสตร์ของการดูดซับน้ำแสดงให้เห็นว่า LMP มีความสามารถในการดูดซับมากกว่า MPP แบบจำลอง Guggenheim-Anderson-de Boer (GAB) แสดงให้เห็นว่า LMP มีการดูดซับน้ำมากกว่า MPP เช่นกัน เนื่องจากจำนวนหมู่คาร์บอกซิลิกที่มีมากกว่า จากกระบวนการสลายหมู่เอสเทอร์ซึ่ง ออกแบบโดยการทดลองแบบส่วนประสมกลางเพื่อสร้งกราฟพื้นผิวตอบสนอง พบว่าสภาวะที่ เหมาะสมที่ให้ค่าเอสเทอริฟิเคชันเท่ากับ 29% คือ การใช้สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ความเข้มข้น 1 นอร์มอลปริมาตร 3.05 มิลลิลิตร ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส เพกตินที่ ได้จากกระบวนการสลาย หมู่เอสเทอร์ (De-esterified pectin: DP) จัดเป็นเพกตินชนิดเมทอกซิลต่ำ (29.40% เอสเทอริฟิเคชัน) และมีค่าน้ำตาลกรดกาแล็กทูโรบิกเท่ากับ 69% DP ได้ถูกศึกษาเปรียบเทียบกับ LMP ที่มีจำหน่ายใน ท้องตลาดซึ่งมีคำเอสเทอริพีเคชันเท่ากับ 29% DP มีลักษณะของสเปกตรัมจากการศึกษาด้วยเทคนิค ฟูเรียร์ทรานส์ฟอร์มอินฟราเรดสเปกโตรสโดปีเช่นเดียวกับ LMP และ MPP นอกจากนี้สเปกตรัมยัง แสดงให้เห็นว่าโครงสร้างหลักของเพกตินไม่เกิดการเปลี่ยนแปลงจากกระบวนการสลายหมู่เอสเทอร์ หมู่คาร์บอกซิลเมทิลเอสเทอร์ (1740 cm-1) และหมู่คาร์บอกซิลิก (1600 and 1420 cm-1) ปรากฎทั้งใน DP, LMP และ MPP สิ่งที่น่าสนใจคือแผ่นฟิล์ม LMP และ DP แสดงถึงความแตกต่างอย่างไม่มี นัยสำคัญทางสถิติ ( p > 0.05) ในค่าความทนการเจาะทะลุ (13.72 ± 1.85 และ 11.13 ± 0.64 นิวตันต่อ ตารางมิลลิเมตร สำหรับแผ่นฟิล์มที่เตรียมจาก LMP และ DP ตามลำดับ) ร้อยละการยืด (2.75 ± 0.29 และ 2.52 ± 0.44 % สำหรับแผ่นฟิล์มที่เตรียมจาก LMP และ DP ตามลำดับ) และค่าคงที่ของยัง (67.69 ± 3.35 และ 61.79 ± 4.45 นิวตันต่อตารางมิลลิเมตร สำหรับแผ่นฟิล์มที่เตรียมจาก LMP และ DP ตามลำดับ) แผ่นฟิล์มที่เตรียมจากเพกตินที่ ได้จากกระบวนการสลายหมู่เอสเทอร์เก็บกักยาคลินดามัย ซินไฮโดรคลอไรด์ (De-esterified pectin film containing clindamycin HC1: DPC) และเพกตินชนิด เมทอดซิลต่ำที่มีจำหน่ายในห้องตลาดเก็บกักยาคลินดามัยชินไฮโครคลอไรด์ (Low methoxy pectin film containing clindamycin HC1: LMPC) มีค่าร้อยละการเก็บกักยาเท่ากับ 93.47 ± 4.71 และ 98.79 ± 2.69 %ตามลำดับ สมบัติเชิงกลของแผ่นฟิล์ม LMPC และ DPC มีลักษณะที่ดีขึ้น อาจเกิดจาก โครงสร้างผลึก และผลของพลาสติกไซเซอร์ของตัวยาคลินดามัยซินไฮโดรคลอไรด์ที่ถูกเก็บกักใน แผ่นฟิล์ม แผ่นฟิล์ม DPC แสดงลักษณะของการปลดปล่อยตัวยาเช่นเดียวกับแผ่บฟิล์ม LMPC นอกจากนี้การทคสอบฤทธิ์การต้านเชื้อแบคที่เรียพบว่า แผ่นฟิล์ม LMPC มีค่าพื้นที่ยับยั้งการเจริญต่อ เชื้อ S. aureus และ C.acnes เท่ากับ 41.11 ± 0.33 และ 76.30 ± 0.98 มิลลิเมตรตามลำดับ ในขณะที่ แผ่นฟิล์ม DPC มีค่าพื้นที่ยับยั้งการเจริญต่อเชื้อ S. aureu และ C.acnes เท่ากับ 40.78 ± 037 และ 74.04 ± 1.12 มิลลิเมตรตามลำดับ ซึ่งฤทธิ์การด้านเชื้อแบคที่เรียของแผ่นฟิล์ม LMPC แผ่นฟิล์ม DPC และผลิตภัณฑ์คลินดามัยชิน ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P > 0.05) การศึกษานี้บ่งชี้ว่า เพกตินจากเปลือกมะม่วงสามารถผ่านกระบวนการสลายหมู่เอสเทอร์ เพื่อนำไปใช้เป็นเพกดินชนิด เมทอดซิลต่ำได้ และ DP มีศักยภาพที่จะใช้เป็นสารก่อฟิล์มได้เช่นเดียวกับ LMP นอกจากนี้การใช้ เพกตินจากเปลือกมะม่วงที่ผ่านกระบวนการสลายหมู่เอสเทอร์ เพื่อเตรียมแผ่นฟิล์มเช่นในการศึกษานี้ แสดงให้เห็นถึงความสามารถในการประยุกด์ใช้เป็นผลิตภัณฑ์ต้านเชื้อแบคทีเรีย | en_US |
Appears in Collections: | PHARMACY: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
611051015 แทนพงศ์ ชัยวาฤทธิ์.pdf | 4.35 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.