Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77832
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Ratchada Cressey | - |
dc.contributor.advisor | Khanittha Punturee | - |
dc.contributor.author | Wongsakan Chuathong | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-11-05T09:33:29Z | - |
dc.date.available | 2022-11-05T09:33:29Z | - |
dc.date.issued | 2021-06 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77832 | - |
dc.description.abstract | Metabolic syndrome is a cluster of interrelated metabolic disorders that increase the risk of developing type 2 diabetes and cardiovascular diseases. One of the nutritional interventions for metabolic syndrome is the dietary supplementation of resistant starch (RS), which is not digested and absorbed in the small intestine but is fermented by microorganisms in the large intestine, thus helps improving gut microbiota. A number of meta-analysis have confirm the beneficial effects of RS on glycemic control and lipid profile. Unripe banana is considered the RS-richest non-processed food and studies have suggested that consumption of unripe bananas confers beneficial effects for human health. However, unripe banana is not consumed directly due to its hardness and high astringency and when cooked its native RS is rendered digestible, In this study we have developed macaroni pasta from chemically modified unripe banana flour (RS4), which did not lose their indigestibility after being cooked. The macaroni pasta was also developed in the turmeric supplemented form (0.15% (w/w), a medicinal plant well known for its glucose and lipid lowering effects. Both types of macaroni were cooked and given to Wistar rats (n=7 per group) at a daily dose of 4g/kg body weight in comparison to the commercial wheat macaroni for 6 weeks in order to investigate their effects on gut microbiota, serum lipid profile, and insulin sensitivity. The treatment No significant physiological differences between groups were observed except rats that consumed banana RS4 macaroni had significantly smaller stomachs (p<0.05, Kruskal Wallis test). Profiles of liver function tests, renal function tests and insulin sensitivity tests were not significantly different between groups. Interestingly, Wistar rats receiving modified banana RS4 macaroni or banana RS4 macaroni with turmeric extract showed a significantly lower serum triglyceride levels (p<0.05, Kruskal Wallis test) and a trend of lower fasting blood glucose, total cholesterol and LDL-cholesterol, although it was not statistically significance. Analysis of gut microbiota analysis by PCR-DGGE (polymerase chain reaction-denaturing gradient gel electrophoresis) of bacterial 16S rRNA V3 region encoding gene demonstrated a significant increase of Shannon diversity index (p<0.05, Wilcoxon signed Rank test) in rats given banana RS4 macaroni supplemented with turmeric extract, which was consistent with the results from the sequencing-based method. Further analysis of the 16S rRNA encoding gene sequencing results demonstrated that addition of turmeric extract to banana RS4 macaroni significantly increased the relative abundance of Lachnospiraceae, Erysipelotrichaceae and Clostridiaceae. Although the contribution of these bacteria to animal's health is not fully understood, the finding that low dose of turmeric extract could significantly increase their relative abundance indicates the possibility of these bacteria in mediating health beneficial effects of turmeric. Nevertheless, further investigation in rats with metabolic syndrome may be needed to demonstrate a more prominent effect. In conclusion, this study has demonstrated that consumption of banana RS4 macaroni confers health benefits towards healthy rats consuming a regular diet and the addition of turmeric extract can significantly alter gut microbiota of the experimental animals. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.title | Effect of macaroni pasta prepared from modified unripe banana flour and turmeric extract on gut microbiota, serum lipid profile, and insulin sensitivity in wistar rats | en_US |
dc.title.alternative | ผลของเส้นมักกะโรนีที่เตรียมจากแป้งกล้วยดิบดัดแปลงและสารสกัดหยาบจากขมิ้นชันต่อจุลชีพในลำไส้ ระดับไขมันในกระแสเลือด และความไวต่ออินซูลินในหนูแรทพันธุ์วิสต้า | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | Metabolic syndrome | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Cooking (Bananas) | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Food mixes | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | ภาวะอ้วนลงพุง หรือ เมแทบอลิกซินโดรม (Metabolic syndrome) คือกลุ่มอาการทางคลินิกที่มีความ ผิดปกติด้านการเผาผลาญพลังงาน (metabolism) ซึ่งจะเพิ่มความเสี่ยงที่จะพัฒนาไปเป็นโรคเบาหวาน ชนิดที่ 2 และโรคหัวใจและหลอดเลือด หนึ่งในการปรับโภชนการเพื่อส่งเสริมสุขภาพของผู้ที่มีภาวะ นื้ คือการเสริมแป้งทนย่อย (Resistant starch: RS) ในมื้ออาหาร ซึ่งเป็นแป้งที่จะไม่ถูกย่อยและจะไม่ ถูกดูดซึมในลำไส้เล็ก แต่จะถูกหมักโดยจุลชีพในลำไส้ใหญ่ จึงมีผลช่วยปรับปรุงชีวนิเวศจุลชีพ (microbiome) ในทางเดินอาหาร ได้ การวิเคราะห์เอกสารวิชาการที่ตีพิมพ์จำนวนมาก (meta-analysis) ได้ยืนข้นให้เห็นถึงคุณประ โยชน์ของแป้งทนย่อยในการปรับปรุงความสามารถของร่างกายในการ ควบคุมระดับน้ำตาลและไขมันในเลือด กล้วยดิบถือว่าเป็นอาหารที่มีแป้งทนย่อยอยู่มากที่สุดใน บรรดาอาหารที่ไม่ได้ผ่านกระบวนการเปลี่ยนสภาพทั้งหมด และการศึกยาก่อนหน้านี้ได้แสดงให้เห็น ถึงประโยชน์ของบริโภคกล้วยดิบต่อสุขภาพของร่างกาย อย่างไรก็ตามกล้วยดิบไม่เป็นที่นิยมบริโภค โดยตรงเนื่องจากแข็งและมีรสชาติฝาดมาก อีกทั้งเมื่อนำกล้วยดิบมาปรุงสุกก็จะทำให้แป้งทนย่อยที่มี อยู่ตามธรรมชาติสูญเสียคุณสมบัติในการทนย่อยไป ในการศึกษานี้ได้มีการนำแป้งกล้วยดิบที่มีการปรับปรุงโครงสร้างด้วยสารเคมี (RS4) ซึ่งยังคง คุณสมบัติของการทนย่อยภายหลังปรุงสุกมาพัฒนาเป็นเส้นมักกะโรนี นอกจากนี้ยังมีการพัฒนาเส้น มักกะโรนีที่เสริมด้วยสารสกัดหยาบขมิ้นชับ (0.1 5% w/w) ซึ่งเป็นพืชสมุนไพรที่รู้จักกันดีถึงฤทธิ์ใน การช่วยลดระดับน้ำตาลและไขมันในเลือด โดยเส้นมักกะโรนีทั้ง 2 ชนิดนี้จะถูกปรุงสุกและป้อน ให้แก่หนูขาวสาขพันธุ์วิสต้า (จำนวน 7 ตัวต่อกลุ่ม) ในปริมาณ 4 กรัมต่อหน่วยกิโลกรัมของน้ำหนัก ตัวหนูทุกวัน เปรียบเทียบกับกลุ่มควบกุมที่ได้รับเส้นมักกะโรนีแป้งสาลีที่ขายอยู่ในท้องตลาดเป็น เวลา 6 สัปดาห์ เพื่อศึกษาผลต่อจุลชีพในลำไส้ ระดับไขมันในกระแสเลือด และความไวต่ออินซูลิน โดยการปฏิบัติงานกับสัตว์ทคลองได้รับการรับรองจากคณะกรรมการจริยธรรมสัตว์ทคลองของ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Protocol no. 2563/RT-0003) ผลการศึกษาไม่พบความแตกต่างทางด้านสรี ระวิทยาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติของหนูแต่ละกลุ่ม ยกเว้นหนูที่ได้รับเส้นมักกะโรนีกล้วยดิบ RS4 ที่มีขนาดของกระเพาะอาหารเล็กกว่าหนูกลุ่มอื่นอย่าง มีนัยสำคัญ (p<0.05, Kruskal Wallis test) ผลการตรวจการทำงานของตับ ไต และการทดสอบความไว ต่ออินซูลิน ไม่พบความแดกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญของหนูทั้ง 3 กลุ่ม แต่ที่น่าสนใจคือหนูกลุ่มที่ ได้รับเส้นมักกะโรนีแป้งกล้วย RS4 และหนูกลุ่มที่ได้รับเส้นมักกะโรนีกล้วยดิบ RS4 เสริมสารสกัด ขมิ้นชัน มีระดับไตรกลีเซอไรด์ที่ต่ำลงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05, Kruskal Wallis test) อีกทั้งมีแนวโน้มการลดลงของระดับน้ำตาลในเลือดหลังงดอาหาร (fasting blood glucose, FBS) คอเลสเตอรอลทั้งหมด และคอเลสเตอรอลชนิดความหนาแน่นต่ำ (low density lipoprotein- cholesterol: LDL-C แม้จะไม่มีนัยสำคัญทางสถิติก็ตาม ผลการวิเคราะห์จุลชีพในทางเดินอาหาร โดย การตรวจยืนที่ใช้สร้าง 16S rRNA V3 region ด้วยวิธี PCR-DGGE (polymerase chain reaction- denaturing gradient gel electrophoresis) แสดงให้เห็นว่าหนูกลุ่มที่ได้รับเส้นมักกะโรนีแป้งกล้วย RS4 เสริมสารสกัดขมิ้นชันมีคำดัชนี Shannon diversity เพิ่มมากขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ p<0.05, Wilcoxon signed Rank test) ซึ่งสอดคล้องกับผลที่ได้จากวิธีการหาลำดับเบส (sequencing-based method) การ วิเคราะห์ผลที่ได้จากวิธีการหาลำดับเบสของยืนที่ใช้สร้าง 16S rRNA V3-V4 region เพิ่มเติม แสดงให้ เห็นว่าการเสริมสารสกัดขมิ้นชันเข้าไปในเส้นมักกะโรนีแป้งกล้วย RS4 มีผลเพิ่มปริมาณของ แบคที่เรียที่อยู่ในวงศ์ Lachnospiraceae, Erysipelotrichaceae และ Clostridiaceae ให้สูงขึ้น แม้ว่า ปัจจุบันบทบาทของแบคทีเรียเหล่านี้ต่อสุขภาพ โดยรวมของสัตว์ยังไม่เป็นที่เข้าใจมากนัก แต่ผล การศึกษาที่แสดงถึงฤทธิ์ของสารสกัดขมิ้นชันในความเข้มขั้นต่ำที่สามารถเพิ่มปริมาณของแบคทีเรีย เหล่านี้อย่างมีนัยสำคัญ บ่งนี้ถึงความเป็นไปได้ว่าแบคทีเรียเหล่านี้อาจเป็นหนึ่งในกลไกหลักของการ สร้างคุณประโยชน์ที่ดีต่อสุขภาพของขมิ้นชัน แต่อย่างไร ก็ตามอาจต้องมีการศึกษาเพิ่มเติมใน สัตว์ทดลองที่มีการกระตุ้นให้เกิดภาวะเมแทบอลิกซินโครมเพื่อการแสดงผลที่ชัดเจนต่อไป โดยสรุปการศึกยานี้แสดงให้เห็นว่าการบริโภคเส้นมักกะโรนีแป้งกล้วย RS4 มีประโยชน์ต่อหนู ทดลองสุขภาพดีที่รับประทานอาหารปกติ และการเสริมสารสกัดขมิ้นชันสามารถปรับเปลี่ยนชีวนิเวศ จุลชีพในทางเดิมอาหารของสัตว์ทดลองได้อย่างมีนัยสำคัญ | en_US |
Appears in Collections: | AMS: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
611135904 วงษกานต์ เชื้อทอง.pdf | 1.88 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.