Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77830
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorไพโรจน์ วิริยจารี-
dc.contributor.authorกชกร กันทากาศen_US
dc.date.accessioned2022-11-05T09:27:27Z-
dc.date.available2022-11-05T09:27:27Z-
dc.date.issued2564-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77830-
dc.description.abstractThis study was conducted to investigate the beneficial bioactive functional conjugated compounds from soybean and black soybean. Soybean and black soybean were used to produce isoflavone aglycone by five lactic acid bacteria (Lactobacillus casei subsp. rhamnosus TISTR047, Lactobacillus bulgaricus TISTR451, Lactobacillus plantarum TISTR43, Streptococcus thermophilus TISTR894 and Bacillus subtilis TISTR001). It was found L.casei subsp. rhamnosus TISTR047, L. bulgaricus TISTR451 and L. plantarum TISTR543 can convert of the glucoside (daidzin, glycitin, genistin) to aglycone (daidzein, glycitein, genistein) in both soybean and black soybean higher than S. thermophilus TISTR894 and B. subtilis TISTR001. The highest activities during fermentation in soybean and black soybean was Lcasei subsp. rhamnosus TISTR047. Then, optimal fermentation condition was continually investigated by L.casei subsp. rhamnosus TISTR047. The volume of L.casei subsp. rhamnosus TISTR047, fermentation temperature and time were also varied. It was found that, the optimal condition of soybean fermentation was 13.50% at 38.51'C for 7 days. On the other hand, the optimal condition of black soybean fermentation was 13.49% at 38.49*C for 8 days. The isoflavone content and antioxidant activities (ABTS and FRAP) from soybean extract was higher than black soybean extract. On the other hand, soybean and black soybean were also used to produce protein hydrolysate by enzyme technology using protease. The molecular weight of soybean and black soybean hydrolysate had 10-15 kDa and 10-20 kDa, respectively with suitable enzyme level of 0.75% for 5 hours 18 minutes. Soybean hydrolysate had a higher degree of hydrolysis and total amino acid content than black soybean hydrolysate. Moreover, soybean hydrolysate and soybean extract were used as materials to generate the bioactive functional conjugated compounds. It was envishided that optimal condition of conjugated compounds was pH 8 and could be generated molecular weight of conjugated compounds approximately 50-70 kDa. Moreover, The conjugated compounds had foaming properties, emulsion properties, pH stability at pH 7-9 and thermal stability at 50C for 6 hours which those properties could be applied as food ingredients.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการพัฒนาส่วนผสมอาหารจากสารประกอบพันธะเชื่อมเชิงหน้าที่ที่มีฤทธิ์ทางชีวภาพจากถั่วเหลืองและถั่วเหลืองผิวดำen_US
dc.title.alternativeDevelopment of food ingredient by bioactive functional conjugated compounds from soybean and black soybeanen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashถั่วเหลือง-
thailis.controlvocab.thashถั่วเหลืองผิวดำ-
thailis.controlvocab.thashไอโซฟลาโวน-
thailis.controlvocab.thashส่วนผสมอาหาร-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาการผลิตไอโซฟลาโวนชนิดอะไกลโคน โดยเชื้อจุลินทรีย์ทั้ง 5 ชนิด ในถั่วเหลือง และถั่วเหลืองผิวดำ พบว่า Lactobacillus casei subsp rhamnosus TISTR047, Lactobacilhs bulgaricus TISTR451 และ Lactobacillus plantarun TISTR543 สามารถเปลี่ยนโครงสร้างของไอไซฟลาโวน ชนิดกลูโคไซค์ เป็นชนิดอะไกลโคนได้ โดย L.casei subsp. rhamnosus TISTR047 สามารถสร้าง ไอโซฟลาโวนชนิดอะไกลโคน ปริมาณเชื้อจุลินทรีช์ และกิจกรรมของเอนไซม์เบต้ากลูโคซิเดสมาก ที่สุด เมื่อนำเชื้อจุลินทรีย์ L.casei subsp. rhamnosus TISTR047 มาหาสภาวะที่เหมาะสมที่สุดใน ถั่วเหลือง และถั่วเหลืองผิวดำ พบว่า สภาวะที่เหมาะสมที่สุดในการหมักในถั่วเหลือง คือ ปริมาณ เชื้อจุลินทรีย์ร้อยละ 13.50 ที่ 38.51 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 7 วัน และสภาวะที่เหมาะสมที่สุดในการ หมักถั่วเหลืองผิวดำ คือ ปริมาณเชื้อจุลินทรีย์ร้อยละ 13.49 ที่ 38.49 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 8 วัน เมื่อศึกบาสมบัติของไอโซฟลาโวนชนิดอะไกลโคนในสารสกัดถั่วเหลืองหมัก และถั่วเหลืองผิวดำ หมัก พบว่า สารสกัดไอโซฟลาโวนจากถั่วเหลือง ให้สมบัติของปริมาณไอโซฟลาโวนรวม ปริมาณ กลูไคไซด์ ปริมาณอะไกลโคน ความสามารถในการต้านออกชิเดชั่นด้วยวิธี ABTS และ FRAP สูงกว่า สารสกัดไอโซฟลาโวนจากถั่วเหลืองผิวดำ ในส่วนของการศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการผลิตโปรตีนไฮโครไลเสตในถั่วเหลือง และ ถั่วเหลืองผิวดำ พบว่า โปรตีนไฮโครไลเสตจากถั่วเหลือง มีน้ำหนักของโมเลกุลโปรตีน อยู่ที่ 15-20 กิโลดาลตัน ส่วนโปรตีนไฮโครไลเสดจากถั่วเหลืองผิวดำ มีน้ำหนักโมเลกุลโปรตีนอยู่ที่ 10-20 กิโลดาลตัน โดยมีสภาวะการผลิตโปรตีนไฮโครไลเสตที่เหมาะสมในถั่วเหลือง และถั่วเหลืองผิวดำ คือ ปริมาณเอนไซม์ร้อยละ 0.75 เป็นระยะเวลา 5 ชั่วโมง 18 นาที โดยพบว่าโปรตีนไฮโดรไลเสตจาก ถั่วเหลือง มีระดับการย่อยสลาย และปริมาณกรดอะมิในที่มากกว่าโปรตีนไฮโครไลเสตจากถั่วเหลือง ผิวดำ นอกจากนี้ได้ใช้ประโยชน์จากโปรตีนไฮโครไลเสตจากถั่วเหลือง และสารสกัด ไอโซฟลาโวนจากถั่วเหลือง มาเป็นวัตถุดิบในการผลิตสารประกอบพันธะเชื่อมที่มีฤทธิ์ทางชีวภาพ เชิงหน้าที่ โดยพบว่าปฏิกิริยาการเชื่อมพันธะที่เหมาะสมด้วยการปรับค่าความเป็นกรดด่างเท่ากับ 8 จะได้สารประกอบพันธะเชื่อมที่มีน้ำหนักโมเลกุล ร0-70 กิโลดาลตัน และสารประกอบพันธะเชื่อมมี สมบัติการเกิดโฟม ความคงตัวของโฟม สมบัติของอิมัลชั่น และความคงตัวของอิมัลชั่น อีกทั้ง สามารถทนต่อค่าความเป็นกรดด่างที่ 7-9 และสามารถทนต่อความร้อนที่ 50 องศาเซลเซียสเป็น ระยะเวลาอย่างน้อย 6 ชั่วโมง ซึ่งสมบัติดังกล่าวสามารถนำไปใช้ประโยชน์เป็นส่วนผสมอาหารได้en_US
Appears in Collections:AGRO: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611331029 กชกร กันทากาศ.pdf9.97 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.