Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77800
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วงกต วงศ์อภัย | - |
dc.contributor.author | ณัฐวุฒิ ใจบุญ | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-11-05T07:58:54Z | - |
dc.date.available | 2022-11-05T07:58:54Z | - |
dc.date.issued | 2022-09 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77800 | - |
dc.description.abstract | The research objective was to study the evaluation of greenhouse gas emission mitigation from energy efficiency measures in the cement manufacturing industry in Thailand. The activity data from the Energy Management Report was dividable into thermal and electrical savings. Moreover, select the emission factor from the Nationally Appropriate Mitigation Actions (NAMA Pledge) in 2015-2018. Greenhouse gas was mitigated by 0.51, 0.45, 0.38, and 0.40 million tons of carbon dioxide equivalent (MtCO2eq) achieving the energy efficiency improvement measure in the industry sector from the potential of the NDC Roadmap based on 2030. Accounting in percentage for 4.64, 4.09, 3.45, and 3.64, respectively. These energy savings lead to expanding greenhouse gas mitigation in the industry sector at the national level. Furthermore, energy efficiency measures comparison used in foreign and Thailand weren’t found different because the process and manufacturing technology weren’t different. Then, the energy efficiency measures were classified and prioritized under the performance of energy savings, investment, and emission reduction through a multi-criteria decision questionnaire from energy engineering and greenhouse gas experts. These experts focused on, process improvement measures (PI), housekeeping measures (HK), and machinery or equipment change (MC) measures descending respectively. Moreover, prioritized measures assisted managers in achieving their targets and decision-making to operate the energy efficiency measures concretely. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | การลดก๊าซเรือนกระจก | en_US |
dc.subject | มาตรการอนุรักษ์พลังงาน | en_US |
dc.subject | อุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ของประเทศไทย | en_US |
dc.title | การประเมินผลการลดก๊าซเรือนกระจกจากมาตรการภาคพลังงานในอุตสาหกรรมการผลิตปูนซีเมนต์ในประเทศไทย | en_US |
dc.title.alternative | Greenhouse gas mitigation assessment from energy sector measures in cement production industry in Thailand | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | ก๊าซเรือนกระจก | - |
thailis.controlvocab.thash | ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ -- การผลิต | - |
thailis.controlvocab.thash | การอนุรักษ์พลังงาน | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | งานวิจัยนี้ทำการศึกษาการประเมินผลการลดก๊าซเรือนกระจกจากมาตรการอนุรักษ์พลังงานในอุตสาหกรรมการผลิตปูนซีเมนต์ของประเทศไทย โดยรวบรวมข้อมูลกิจกรรมจากรายงานการจัดการพลังงาน ซึ่งสามารถแบ่งข้อมูลกิจกรรมออกเป็นผลประหยัดด้านความร้อนและไฟฟ้า เลือกใช้ค่าสัมประสิทธิการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสำหรับการดำเนินงานลดก๊าซเรือนกระจกที่เหมาะสมของประเทศ (Nationally Appropriate Mitigation Actions: NAMA Pledge) ในปีพ.ศ.2558-2561 สามารถลดก๊าซเรือนกระจกลงได้ เท่ากับ 0.51 0.45 0.38 และ0.40 ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า (MtCO2eq) ผลสำเร็จใน NDC Roadmap จากค่าศักยภาพ ณ ปีพ.ศ.2573 สำหรับมาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานในอุตสาหกรรม คิดเป็นร้อยละ 4.64 4.09 3.45 และ3.64 ตามลำดับ ซึ่งข้อมูลกิจกรรมดังกล่าวยังมีศักยภาพที่จะขยายผลในการติดตามผลลดก๊าซเรือนกระจกระดับประเทศทั้งสาขาอุตสาหกรรม การเปรียบเทียบมาตรการอนุรักษ์พลังงานที่ใช้ในต่างประเทศและสำหรับประเทศไทย พบว่ามีความคล้ายคลึงกันเนื่องจากกระบวนการและเทคโนโลยีการผลิต ซึ่งเมื่อนำกลุ่มมาตรการอนุรักษ์พลังงานมาจัดลำดับความสำคัญภายใด้ผลการดำเนินมาตรการอนุรักษ์พลังงาน ผ่านการตอบแบบสอบถามเปรียบเทียบเชิงคู่จากผู้เชี่ยวชาญด้านวิศวกรรมพลังงานและก๊าซเรือนกระจก พบว่า ผู้เชี่ยวชาญให้ความสำคัญแก่ กลุ่มมาตรการปรับปรุงกระบวนการ (PI) กลุ่มมาตรการบำรุงรักษาเครื่องจักรหรืออุปกรณ์ (HK) และกลุ่มมาตรการปรับเปลี่ยนเครื่องจักรหรืออุปกรณ์ (MC) จากมากไปน้อยตามลำดับ ผลของการจัดลำดับมาตรดังกล่าวการนี้จะมีส่วนช่วยให้ผู้บริหารจัดลำดับความสำคัญ เพื่อเป็นแนวทางในการตัดสินใจในการดำเนินนโยบายลดการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพและเป็นรูปธรรม | en_US |
Appears in Collections: | ENG: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
630631083_ณัฐวุฒิ ใจบุญ.pdf | 8.73 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.