Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77795
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorTharn Thongngok-
dc.contributor.advisorYongyouth Yaboonthong-
dc.contributor.advisorChoocheep Puthaprasert-
dc.contributor.authorSarawuth Sornchaien_US
dc.date.accessioned2022-11-05T07:49:09Z-
dc.date.available2022-11-05T07:49:09Z-
dc.date.issued2021-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77795-
dc.description.abstractThe adjectives of this research on Curriculum Quality Assurance Operational Strategy of Public Higher Education Institutions in Chiang Mai were 1) To study the problem conditions and recommendations of the curriculum quality assurance operational strategy of public higher education institutions 2) To study the guidelines for quality assurance of education from the prototype curriculum 3) To prepare and monitor the effectiveness, strategies, and implementation of curriculum quality assurance of public higher education institutions. 4) To evaluation the implementation strategy of curriculum quality assurance of public higher education institutions. This research is based on: Research and Development (R&D) method. The results of the research are summarized as follows: 1. Problem conditions with quality assessment summary report the program level, academic year 2017, found that 1) the standard supervision, is the course instructors have an ambiguous understanding of curriculum standards 2) Graduates is lacking of planning and review of performance and processes affecting student development in accordance with learning outcome standards3) Students are organized activities to encourage students for having learning skills which there is no diversity 4) The course does not define the IDP plan of the instructors responsible for entering the academic position 5) The assessment of learners is the lack of strategic adjustment of the strategy plan of the strategy plan course 6) Learning facilities is a lack of curriculum, based on surveys from instructors and students, to use the information to improve the management of learning facilities while exploring the teaching needs. For feedback from the curriculum quality assurance process, the 1st step: The curriculum standard is that the lecturers, academic staff, knowledge and understanding of the supervision of the curriculum standards is unclear. The suggestion is that the course should be conducted in a seminar and workshop to educate the instructors and staff of the course. The 2nd step: The preparation of the course's educational management development plan is delayed, resulting in the implementation of the plan is not in accordance with the specified period of time. The suggestion is that counselors and students should prepare Time Line for student research. The 3rd step: Implementation of the Education Management Development Plan is sourcing repair defective teaching support. The issue is not resolved. The suggestion is to plan improvemnents, repair according to the duration of teaching facilities. The 4th step: Follow up course performance. The problem is that the instructors lacks of following-up. The recommendation is to assign the curriculum staff to record the results of reporting and advancement of the production of academic work. The 5th step: Curriculum evaluation and quality inspection is the board or working group that evaluates the curriculum. The suggestion is to conduct the appointment of a variety of boards or working groups. The 6th step: Reporting assessment results to universities is the preparation of assessment reports, those responsible for indicators, lack of understanding of the criteria for assessing the quality of curriculum education. Feedback is to assign and clearly assign duties to instructors and staff of the course according to the appropriate indicators. 2. Curriculum Quality Assurance Guidelines From the Prototype's course, the 1st step: Directing the curriculum standards. The guidelines is holding meetings to educate them about course benchmarks. The 2nd step: Make a plan to improve the educational management of the curriculum. The guideline is to draw up a plan to control of theology. The 3rd step: Implementation of the Education Management Development Plan. The guideline is to assign responsibility for teaching and learning facilities to the affiliate. The 4th step: Follow up course performance. The guidelines are planning for the training of instructors according to their aptitudes, including reporting on the training of instructors in the main course. The 5th step: Curriculum Evaluation and Quality Inspection. The guidelines is the appointment of a curriculum quality inspection committee from a qualified instructors who has been trained through curriculum quality inspection. The 6" step: Reporting assessment results to the university. The guideline is there are course-level communication channels, social media channels, and course meetings. Participation of instructors and curriculum staff including exchange of their opinions in the preparation of self assessment reports 4. Curriculum Quality Assurance Strategy of Public Higher Education Institutions in Chiang Mai has 7 points of strategies as follows; 1) Strategies to encourage course personnel to have an understanding of course benchmarks 2) strategies to plan course staff to meet the criteria 3) Development Strategy 4) Proactive course education development plan 4) Strategy to encourage the course to implement education management development plan 5) Follow-up strategy Course work periods by 3 months, 6 months, 9 months, and 12 months 6) Strategy to develop the curriculum to be evaluated for the quality of curriculum level 7) Strategy to promote the dissemination of course performance data 5. Evaluation used of appropriate and useful strategies found a strategy for Curriculum Quality Assurance Operational Strategy of Public Higher Education Institutions in Chiang Mai which the efficiency at the "most" level.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleOperational strategy of Educational Quality Assurance Programme level of Higher Education Institutions in Chiang Mai Provinceen_US
dc.title.alternativeกลยุทธ์การดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาระดับหลักสูตรของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐในจังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshEducational Quality Assurance-
thailis.controlvocab.lcshUniversities and colleges -- Chiang Mai-
thailis.controlvocab.lcshPublic universities and colleges -- Chiang Mai-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractกลยุทธ์การดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาระดับหลักสูตร ของสถาบันอุดมศึกษา ของรัฐในจังหวัดเชียงใหม่ มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) ศึกษาสภาพ ปัญหาและข้อเสนอแนะการดำเนินงาน การประกันคุณภาพการศึกษาระดับหลักสูตร สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ ในจังหวัดเชียงใหม่ 2) ศึกษา แนวทางการดำเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาจากหลักสูตรต้นแบบ 3) จัดทำและตรวจสอบ ประสิทธิภาพกลยุทธ์การดำเนินงานการประกับคุณภาพการศึกษาระดับหลักสูตรของสถาบัน อุดมศึกษาของรัฐในจังหวัดเชียงใหม่ 4) ประเมินผลการใช้กลยุทธ์การดำเนินงานการประกันคุณภาพ การศึกษาระดับหลักสูตรของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐในจังหวัดเชียงใหม่ โดยการวิจัยครั้งนี้เป็นแบบ การวิจัยและพัฒนา (Research and Development: R&D) ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพ ปัญหาจากรายงานสรุปผลการประเมินคุณภาพ ระดับหลักสูตร ปีการศึกษา 2560 พบว่าองค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐานคือ อาจารย์ประจำหลักสูตร มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ การกำกับมาตรฐานหลักสูตรที่ไม่ชัดเจน องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิตคือ หลักสูตรขาดการวางแผนและ การทบทวนผลการดำเนินงานและกระบวนการที่ส่งผลต่อการพัฒนานักศึกษาตามมาตรฐานผลการ เรียนรู้ องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษาคือ การจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีทักษะการเรียนรู้ ไม่มี ความหลากหลาย องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์คือ หลักสูตรไม่กำหนดแผน IDP ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบ หลักสูตรในการข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตรการเรียนการสอน การประเมิน ผู้เรียนคือ ขาดการปรับแผนกลยุทธ์ของหลักสูตรนามกระบวนการจัดทำแผนกลยุทธ์ องค์ประกอบ ที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้คือ หลักสูตรขาดข้อมูลจากการสำรวจจากอาจารย์และนักศึกษาเพื่อนำ ข้อมูลมาปรับปรุงการ จัดการสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้พร้อมทั้งสำรวจความต้องการในการเรียน การสอน สำหรับข้อเสนอแนะจากกระบวนการประกับคุณภาพการศึกษาระดับหลักสูตร ขั้นตอนที่ 1 การกำกับมาตรฐานหลักสูตร คือ อาจารย์ นักวิชาการศึกษา มีความรู้ความเข้าใจด้านการกำกับ มาตรฐานหลักสูตรยังไม่ชัดเจน ข้อเสนอแนะคือ หลักสูตรควรดำเนินการจัดอบรมสัมมนา การ ประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อให้ความรู้อาจารย์และเจ้าหน้าที่ของหลักสูตร ขั้นตอนที่ 2 การจัดทำ แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของหลักสูตรคือ การจัดทำแผนมีความล่าช้าทำให้มีการดำเนินการดาม แผนไม่เป็นไปตามระยะเวลาที่กำหนด ข้อเสนอแนะถือ อาจารย์ที่ปรึกษาและนักศึกษาควรจัดทำ Time Line ของการดำเนินการงานวิจัยของนักศึกยา ขั้นตอนที่ 3 การดำเนินงานตามแผนพัฒนาการจัด การศึกษาคือ การจัดหา ซ่อมแซมสิ่งสนับสนุนการเรียนการสอนที่ชำรุด ยังไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้ ข้อเสนอแนะคือ วางแผนด้านการปรับปรุง ซ่อมแซมตามระยะเวลาของสิ่งสนับสนุนการเรียน การสอน ขั้นตอนที่ 4 การติดตามผลการดำเนินงานของหลักสูตร คือปัญหาคืออาจารย์ขาดการติดตาม ผลความก้าวหน้าเพื่อการผลิตผลงานทางวิชาการ ข้อเสนอแนะดือ มอบหมายให้เจ้าหน้าที่ประจำ หลักสูตรมีการบันทีกผลจากการรายงานและความก้าวหน้าในการผลิตผลงานทางวิชาการ ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพหลักสูตรคือคณะกรรมการหรือคณะทำงานที่มาประเมิน หลักสูตร ไม่สอดคล้องกับบริบทหลักสูตร ข้อเสนอแนะคือ ดำเนินการแต่งตั้งกณะกรรมการหรือ คณะทำงานที่หลากหลาย ขั้นตอนที่ 6 การรายงานผลการประเมินให้มหาวิทยาลัยคือ การจัดทำ รายงานผลการประเมิน ผู้รับผิดชอบตัวบ่งชี้ ขาดความเข้าใจเกณฑ์การประเมินคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร ข้อเสนอแนะคือ การมอบหมายและกำหนดหน้าที่ให้อาจารย์และเจ้าหน้าที่ของ หลักสูตรอย่างชัดเจนตามตัวบ่งชี้ที่ถนัด 2. แนวทางการประกันคุณภาพการศึกษาระดับหลักสูตร จากหลักสูตรต้นแบบ ขั้นตอนที่ 1 การกำกับมาตรฐานหลักสูตร แนวปฏิบัติคือ มีจัดการประชุมเพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับเกณฑ์มาตรฐาน หลักสูตร ขั้นตอบที่ 2 การจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของหลักสูตร แนวปฏิบัติคือ การจัดทำ แผนเพื่อควบคุมวิทยานิพนธ์ ขั้นตอนที่ 3 การดำเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษา แนวปฏิบัติ คือ การมอบหมายความรับผิดชอบสิ่งสนับสนุนการเรียนการสอนให้หน่วยงานดูแล ขั้นตอนที่ 4 การ ติดตามผลการดำเนินงานของหลักสูตร แนวปฏิบัติคือ การวางแผนการกำหนดให้อาจารย์ในหลักสูตร เข้ารับการอบรมตามความถนัดรวมทั้งการรายงานเข้ารับการอบรมของอาจารย์ในหลักสูตร ขั้นตอน ที่ 5 การประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพหลักสูตร แนวปฏิบัติคือ การดำเนินการแต่งตั้ง คณะกรรมการตรวจสอบคุณภาพหลักสูตร จากอาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิที่ได้รับการอบรมผ่านการ ตรวจสอบคุณภาพหลักสูตร ขั้นตอนที่ 6 การรายงานผลการประเมินให้มหาวิทยาลัย แนวปฏิบัติคือ มีช่องทางการติดต่อสื่อสารกันในระดับหลักสูตรทั้งช่องทางสื่อสังคมออนไลน์ และการประชุม หลักสูตร การมีส่วนร่วมของอาจารย์และเจ้าหน้าที่หลักสูตร รวมถึงการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นใน การจัดทำรายงานผลการประเมินตนเอง 4. กลยุทธ์การดำเนินงานการประกับคุณภาพการศึกษาระดับหลักสูตรของสถาบัน อุดมศึกษาของรัฐ ในจังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 7 กลยุทธ์ ได้แก่ 1) กลยุทธ์ส่งเสริมให้บุคลากรใน หลักสูตรมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร 2) กลยุทธ์วางแผนอัตรากำลังอาจารย์ ประจำหลักสูตรให้ตรงตามเกณฑ์ 3) กลยุทธ์พัฒนา ปรับปรุงแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของ หลักสูตรเชิงรุก 4) กลยุทธ์สนับสนุนให้หลักสูตรมีการดำเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษา 5) กลยุทธ์ติดตามผลการดำเนินงานหลักสูตรตามรอบระยะเวลา 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 6) กลยุทธ์พัฒนาหลักสูตรให้ได้รับการประเมินคุณภาพการศึกษาระดับหลักสูตร 7) กลยุทธ์ส่งเสริม การเผยแพร่ข้อมูลผลการดำเนินงานหลักสูตร 5. ผลประเมินการใช้กลยุทธ์ด้านความเหมาะสมและความเป็นประโยชน์ พบว่า กลยุทธ์ การดำเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาระดับหลักสูตรของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐในจังหวัด เชียงใหม่ มีประสิทธิภาพอยู่ในระดับ "มากที่สุด"en_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
580252011 สราวุธ สอนใจ.pdf2.28 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.