Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77793
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorTharn Thongngok-
dc.contributor.advisorYongyouth Yaboonthong-
dc.contributor.advisorChoocheep Puthaprasert-
dc.contributor.authorWinyoo Santipapwiwatanaen_US
dc.date.accessioned2022-11-05T07:46:39Z-
dc.date.available2022-11-05T07:46:39Z-
dc.date.issued2021-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77793-
dc.description.abstractThe objectives of this research were 1) to study the current condition, problems and guidelines for integrated information management in the Lamphun Provincial Education Office, 2) to prepare and examine the model and manual on the integrated information management model in the Lamphun Provincial Education Office and, 3) to study results of using the Integrated Information Management Model in the Lamphun Provincial Education Office. The sample consisted of 173 administrators and persons responsible for collecting educational information in educational agencies in Lamphun Province. Both quantitative and qualitative data were collected. The tools used were questionnaires and interview forms with a Consistency Index between 0.80- 1.00 and a Confidence Value of 0.86 The results of the research were: 1. The operation condition of the integrated information management of the Office of Education, Lamphun Province: Overall, all aspects were at a high level, sorted in order are the use of information, data analysis, data collection, data validation, data processing and storage. As for the problem of the integrated information management of the Office of Education, Lamphun Province: Overall, all aspects were at a low level, sorted in order are data collection, data validation, data processing, data storage, data analysis, and the use of information, 2. The integrated information management model of the Office of Education, Lamphun Province consists of four main components: 1) Objectives, 2) Fundamental theories and principles of the model, 3) The implementation of the model consists of 6 areas: data collection; data validation data processing data storage Data analysis, and data use, 4) Model success assessment guidelines, and 5) Success conditions and 3 results of the model implementation and model manual. As a result, the Office of Education in Lamphun Province has a variety of information management responding to the objectives of the province's educational information management. Executives and personnel are responsible for information technology. The performance of the model was evaluated at the highest level and assessed the effectiveness of the model at the highest level as well.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleAn Administrative model of information technology integration in the Lamphun Provincial Education Officeen_US
dc.title.alternativeรูปแบบการบริหารจัดการข้อมูลสารสนเทศเชิงบูรณาการของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดลำพูนen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshInformation technology-
thailis.controlvocab.lcshEducation -- Management-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหาและแนวทางการบริหาร จัดการข้อมูลสารสนเทศเชิงบูรณาการของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดลำพูน 2) เพื่อจัดทำและ ตรวจสอบรูปแบบและคู่มือรูปแบบการบริหารจัดการข้อมูลสารสนเทศเชิงบูรณาการของสำนักงาน ศึกษาธิการจังหวัดลำพูน และ 3) เพื่อศึกษาผลการใช้รูปแบบการบริหารจัดการข้อมูลสารสนเทศ เชิงบูรณาการของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดลำพูน กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้บริหารและผู้ที่รับผิดชอบใน การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษาในหน่วยงานทางการศึกษาในจังหวัดลำพูน จำนวน 173 กน ใช้การเก็บข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ ซึ่งมีค่าดัชนีความสอดคล้องอยู่ระหว่าง 0.80- 1.00 และค่าความเชื่อมั่น 0.86 ผลวิจัยพบว่า 1.สภาพการดำเนินการเกี่ยวกับการบริหารจัดการข้อมูลสารสนเทศเชิงบูรณาการ ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดลำพูน โดยรวมทุกด้านอยู่ในระดับมาก เรียงตามลำดับคือ ด้านการนำ ข้อมูลไปใช้ ด้านการวิเคราะห์ข้อมูล ด้านการเก็บรวบรวมข้อมูล การตรวจสอบข้อมูล การประมวลผล ข้อมูล และการจัดเก็บข้อมูล ส่วนสภาพปัญหาเกี่ยวกับการบริหารจัดการข้อมูลสารสนเทศเชิง บูรณาการของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดลำพูน โดยรวมทุกด้านอยู่ในระดับน้อย เรียงตามลำดับคือ ด้านการเก็บรวบรวมข้อมูล การตรวจสอบข้อมูล ด้านการประมวลผลข้อมูล ด้านการจัดเก็บข้อมูล ด้านการวิเคราะห์ข้อมูล และด้านการนำข้อมูลไปใช้ 2. สำหรับรูปแบบการบริหารจัดการข้อมูล สารสนเทศเชิงบูรณาการของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดลำพูน ประกอบด้วยองค์ประกอบหลัก 4 องค์ประกอบ คือ 1) วัตถุประสงค์ 2) ทฤษฎีพื้นฐานและหลักการของรูปแบบ 3) การปฏิบัติการของ รูปแบบ ประกอบด้วย 6 ด้าน คือ การเก็บรวบรวมข้อมูล การตรวจสอบข้อมูล การประมวลผลข้อมูล การจัดก็บข้อมูล การวิคราะห์ข้อมูลและการนำข้อมูลไปใช้ 4) แนวทางการประเมินความสำเร็จของ รูปแบบ และ 5) เงื่อนไขความสำเร็จ และ 3. ผลการนำรูปแบบและคู่มือรูปแบบไปทดลองใช้ ทำให้ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดลำพูนมีการบริหารจัดการข้อมูลสารสนเทศได้หลากหลาย สนองต่อ วัตถุประสงค์ของการบริหารจัดการข้อมูลสารสนเทศทางด้านการศึกษาของจังหวัด ผู้บริหารและ บุคลากรผู้รับผิดชอบงานข้อมูลสารสนเทศ ได้ประเมินประสิทธิภาพของรูปแบบอยู่ในระดับมากที่สุด และประเมินประสิทธิผลของรูปแบบอยู่ในระดับมากที่สุดen_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
580252010 วิญญู สันติภาพวิวัฒนา.pdf2.01 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.