Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77790
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorKorakot Jairak-
dc.contributor.advisorRongkakorn Anantasanta-
dc.contributor.advisorEmerita Rossalin Garst-
dc.contributor.authorWannawit Patteepen_US
dc.date.accessioned2022-11-05T07:33:19Z-
dc.date.available2022-11-05T07:33:19Z-
dc.date.issued2022-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77790-
dc.description.abstractThe dissertation “The Creation of mixed media art reflecting the critical state of natural” is a part of the Ph.D. Art and Design, Faculty of Fine Arts, Chiang Mai University, which successfully fulfilled the objectives of the study.I would like to highly express my deepest gratitude to the 3 advisors namely Assistant Professor Dr. Korakot jairak, Associate Professor Dr. Rongkorn Anantasan, and Professor Kiattikhun Rosalin Gast (Joint Professor), for everything throughout the study. I am also thankful for Mr. Udom Petchteep (father), Mrs. Malee Petchteep (mother) and family members who always support and encourage me in every way, as well as all teachers of the art and design course who teaches, guides in the study, and provide advices on creating works. This endeavor would not have been possible without Professor Richard Gast, granting me a scholarship for the 1st semester of my Ph.D. Moreover, I would like to acknowledge the staffs of the department of Art and Design for assisting me in every aspect, and all of my friends for moving and installing works to be presented in the exhibition from the first day until the dissertation has been achieved. Most importantly, I would like to extend my sincere thanks to the assistants who supported the budget for the exhibition until the it was successfully completed. Lastly, I would like to mention Chiang Mai University Art Museum and personnel officers for the exhibition area and various operations. I sincerely hope that this assertation will contribute to the knowledge in creating arts and guideline of further studies for researchers, Art students, and general public who are well interested.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.subjectWildfireen_US
dc.subjectMixed Media Sculptural Worksen_US
dc.subjectArt Concerning Environmenten_US
dc.titleThe creation of mixed-media art reflecting the critical state of natureen_US
dc.title.alternativeการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะสื่อผสมสะท้อนสภาวะวิกฤตทาง ธรรมชาติและผลกระทบจากปัญหาไฟป่าen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashArts-
thailis.controlvocab.thashArts and society-
thailis.controlvocab.thashForest fires-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะสื่อผสมสะท้อนสภาวะวิกฤตทางธรรมชาติและผลกระทบ จากปัญหาไฟป่ามีที่มาจากการได้รับรู้ถึงผลกระทบที่เกิดจากไฟป่า สืบเนื่องจากการที่ผู้เขียนได้อาศัย อยู่จังหวัดเชียงใหม่มาเป็นระยะที่นานพอสมควรทำให้ได้เห็น และรับผลกระทบจากปัญหาที่เกิดขึ้น หลังจากการค้นคว้าข้อมูลจึงทำให้ได้รับรู้ว่า ปัญหาไฟป่าเกิดจากกิจกรรมเชิงเศรษฐกิจ โดยเฉพาะการ ประกอบอาชีพเกษตรกรรมถือได้ว่าเป็นอาชีพหลักที่สร้างปัญหานี้ การศึกษา และวิเคราะห์ ข้อมูลนำไปสู่การกำหนดวัตถุประสงค์สร้างสรรค์ผลงานศิลปะ ประติมากรรมสื่อผสมนำเสนอสาระประเด็นสภาวะวิกฤตทางธรรมชาติ ผลกระทบจากการกระทำ ของมนุษย์ และสร้างการรับรู้ถึงผลกระทบที่เกิดจากการกระทำของมนุษย์โดยเฉพาะสิ่งที่เกิดขึ้นจาก ระบบเกษตรกรรมที่นำมาซึ่งปัญหาไฟป่าในพื้นที่ภาคเหนือของประเทศไทยต่อผู้ชม ในกระบวนการสร้างสรรค์ผลงานกำหนดเป็นรูปแบบประติมากรรมสื่อผสมหลากหลาย ขนาดนำเสนอประเด็นของสภาวะที่ได้รับผลกระทบจากการกระทำของมนุษย์ โดยเฉพาะสภาวะที่เกิด จากปัญหาไฟป่าในพื้นที่ภาคเหนือของประเทศไทย ดุษฎีนิพนธ์ในรูปแบบนิทรรศการศิลปะชุดนี้เป็น ผลงานศิลปะประติมากรรมสื่อผสมร่วมกับสื่อภาพเคลื่อนไหว นำเสนอผลงานผ่านพื้นที่จำลองของ สภาวะไฟป่าและสภาวะซึ่งแสดงให้เห็นผลกระทบหลังจากการเกิดขึ้นของไฟป่า การสร้างสรรค์ผลงาน ชุดนี้ นอกจากการได้ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์ในเรื่องการ สะท้อนปัญหาผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากปัญหาไฟป่า โดยใช้ผลงานศิลปะเป็นสื่อในการ ถ่ายทอดออกมาจากแนวความคิดที่ตั้งไว้ ผู้เขียนยังได้องค์ความรู้และประโยชน์จากการค้นพบระหว่าง การสร้างสรรค์หลายประการ ทั้งการได้ทดลองวิธีการรวมถึงเทคนิกใหม่ ๆ ที่เกิดจากการสร้างสรรค์ และนำเสนอผลงานสิ่งสำคัญอีกอย่างที่ได้รับก็คือการที่ผู้เขียนสามารถต่อยอดพัฒนาในการ สร้างสรรค์ผลงานต่อ ๆ ไปในอนากตได้อย่างหลากหลายขึ้น ทั้งด้านรูปแบบ เนื้อหารวมไปถึงวิธีการ นำเสนอผลงาน และยังได้นำเสนอผลงาน เพื่อสะท้อนปัญหาผลกระทบของไฟป่า เพื่อให้ผู้ชม ได้ตระหนักถึงความสำคัญของสิ่งแวดล้อม และผลกระทบที่จะตามมาเมื่อเกิดปัญหาไฟป่าแล้ว สำหรับความคิดริเริ่มในการสร้างสรรค์ผลงานครั้งนี้ ได้รับจากข้อค้นพบเพิ่มเติมในการ สร้างสรรค์ผลงานที่ได้สร้างพื้นที่ทางศิลปะ 2 ลักษณะ ลักษณะแรกคือพื้นที่ทางการแสดงสภาวะ อารมณ์ความร้อนแรงของไฟป่าในรูปแบบผลงานศิลปะสื่อผสมที่กำหนดให้สื่อภาพเคลื่อนไหวไฟป่า ที่รุกไหม้ทำงานร่วมกับผลงานประติมากรรม อีกลักษณะคือการสร้างให้เกิด "สถานที่" แห่งการพูดคุย ประเด็นวิกฤตสิ่งแวดล้อม โดยผลงานประติมากรรมที่แม้จะไม่สร้างให้เกิดสภาวะอารมณ์ที่รุนแรง เหมือนผลงานลักษณะแรกแต่ชุดประติมากรรมสภาวะของผลกระทบจากไฟป่าได้แสดง ถึงความตาย ความไร้ชีวิตที่เป็น "สัญญะ" เปิดโอกาสให้ผู้ชมเกิดข้อถกเถียงกับตนเอง ผู้ร่วมงานท่าน อื่น หรือกับตัวผู้สร้างสรรค์ผลงานเมื่ออยู่ในพื้นที่แสดงงาน ผลงานทั้ง 2 ลักษณะที่มีความแตกต่างกัน ถูกเชื่อมโยงให้ทำงานส่งเสริมกันนับได้ว่าผลงานดุษฎีนิพนธ์ชุดนี้เป็นทั้งพื้นที่ทางศิลปะ และพื้นที่ สาธารณะที่ผู้ชมมีส่วนร่วมในการรับรู้ พูดคุยถึงปัญหาวิกฤตสิ่งแวคล้อม ถือได้ว่าเป็นความคิดริเริ่ม ใหม่ที่มีประโยชน์ต่อวิชาการทางศิลปะ และสังคมภาพกว้างen_US
Appears in Collections:FINEARTS: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620351002 วรรณวิทย์ เพ็ชรตีบ.pdfWannawit Patteep7.66 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.