Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77787
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวสวัชร นาคเขียว-
dc.contributor.authorพิสิษฐ์ แก้วคำen_US
dc.date.accessioned2022-11-05T06:26:43Z-
dc.date.available2022-11-05T06:26:43Z-
dc.date.issued2022-10-20-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77787-
dc.description.abstractThe main purpose of this research was to enhance the mechanical properties of friction stir welds (FSW) in the dissimilar aluminum alloys 6061-T6 and 7075-T651. The welded workpiece has tensile residual stress due to the influence of the thermal conductivity of dissimilar materials, resulting in crack initiation and less fatigue strength. The experiment started from the FSW process using the 2k full factorial with the response surface methodology (RSM) and central composite design (CCD) to investigate three factors: rotation speed, feed rate and type of stirring tool. The experiment found that the optimal values were a rotation speed of 979 rev/min and a feed rate of 65 mm/min, and any type of stirring tool can be used. Then, the post-weld heat treatment process (PWHT) at 530 ◦C for 4 hours and 140 ◦C for 6 hours was applied. Following this, the 2k full factorial was used to investigate four factors involved in the deep rolling process (DR): deep rolling pressure, deep rolling speed, deep rolling offset and deep rolling direction. The experiment found that the optimal values were a deep rolling pressure of 300 bar and deep rolling offset of 0.2 mm; the deep rolling speed and deep rolling direction can use any value. Moreover, mechanical property testing was performed with a sequence of four design types of workpieces: FSW, FSW-PWHT, FSW-DR, and FSW-PWHT-DR. It was found that the FSW-PWHT-DR workpiece had an increase in tensile strength of up to 26.29% and increase in fatigue life of up to 129.47% when compared with the FSW workpiecesen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectfriction stir welden_US
dc.subjectdeep rollingen_US
dc.subjectaluminium alloysen_US
dc.titleการหาค่าพารามิเตอร์ที่เหมาะสมที่สุดของกระบวนการรีดลึกบนแนวเชื่อมแรงเสียดทานแบบกวนของวัสดุต่างประเภทระหว่างโลหะผสมอลูมิเนียม 6061-T6 และ 7075-T651en_US
dc.title.alternativeParameter optimization of deep rolling process on friction-stir welded joint of dissimilar 6061-t6 and 7075-t651 aluminium alloysen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashการเชื่อม-
thailis.controlvocab.thashงานโลหะ-
thailis.controlvocab.thashแรงเสียดทาน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยฉบับนี้มีจุดประสงค์เพื่อปรับปรุงคุณสมบัติเชิงกลของบริเวณแนวเชื่อมโลหะผสมอลูมิเนียม 6061-T6 และ 7075-T651 โดยทั่วไปภายหลังการเชื่อมชิ้นงานต่างประเภท จะมีความเค้นตกค้างแบบดึง เนื่องจากอิทธิพลการนำความร้อนและความแข็งที่ต่างกัน ส่วนที่ได้รับความร้อนจะเกิดการขยายตัว และจะถูกต้านทานโดยส่วนที่ไม่ได้รับความร้อน ส่งผลให้ชิ้นงานเกิดความเค้นและเปราะบาง ดังนั้นจึงจำเป็นต้องใช้กระบวนการทางความร้อนเพื่อบรรเทาความเค้นตกค้างแบบดึง และกระบวนการรีดลึกเพื่อสร้างความเค้นตกค้างแบบกด ซึ่งจะส่งผลให้ชิ้นงานมีความต้านทานต่อการล้าและยืดอายุของชิ้นงาน โดยการทดลองเริ่มจากกระบวนการเชื่อมด้วยแรงเสียดทานแบบกวน โดยใช้วิธีการทดลองแบบ 2k full factorial ศึกษา 3 ปัจจัย ได้แก่ ความเร็วหมุน ความเร็วเดินเชื่อม และลักษณะของหัวกวน จากการทดลองพบว่า ความเร็วหมุนและความเร็วเดินเชื่อมมีอิทธิพลต่อการต้านทางแรงดึงอย่างมีนัยสำคัญ โดยค่าที่เหมาะสมที่สุดคือ ความเร็วในการหมุน 979 รอบ/นาที และ ความเร็วเดินเชื่อม 65 มิลลิเมตร/นาที จากนั้นนำชิ้นงานมาผ่านกระบวนการทางความร้อน ด้วยอุณหภูมิ 530 ◦C เป็นเวลา 4 ชั่วโมงและ 140 ◦C เป็นเวลา 6 ชั่วโมง เพื่อลดความเค้นตกค้างแบบดึง และกระบวนการรีดลึกศึกษา 4 ปัจจัยได้แก่ แรงดัน ความเร็ว ระยะห่าง และทิศทางในการรีดลึก พบว่า แรงดัน และระยะห่าง มีอิทธิพลต่อความต้านทางแรงดึงอย่างมีนัยสำคัญ ค่าที่เหมาะสมที่สุดคือ แรงดัน 300 บาร์ และระยะห่าง 0.2 มิลลิเมตร จากนั้น ทดสอบแรงดึง และความล้า พบว่า ชิ้นงานที่ผ่านการเชื่อม การอบความร้อน และการรีดลึก มีความต้านทานแรงดึงเพิ่มขึ้น 26.29% และอายุความล้าเพิ่มขึ้น 129.47% เมื่อเปรียบเทียบกับชิ้นงานที่ยังไม่ผ่านการปรับปรุงใดๆen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620631083_pisit kaewkham.pdf27.16 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.