Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77779
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Nampeung Anukul | - |
dc.contributor.author | Yu Myat Nandar | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-11-05T04:53:00Z | - |
dc.date.available | 2022-11-05T04:53:00Z | - |
dc.date.issued | 2022-09 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77779 | - |
dc.description.abstract | In precision medicine era, multiple factors are needed in clinical decision-making because of ethnic and racial genetic diversity, family history, and other health details. Although advanced techniques are evolved, there is still an obstacle to overwhelm pharmacogenetic (PGx) implementation in developing countries. The objective of this study is to provide easy-to-use method that roughly estimate the patient’s carrier type, easily prescreen out normal ones before sequencing or genotyping usage for actual genetic status. We developed fast co-amplification at lower denaturation temperature (COLD)-PCR to differentiate genetic variant non-carriers from carriers. Cytochrome P450 (CYP) enzymes play oxidative biotransformation of drugs. Of all the CYPs, CYP2C9, CYP2C19, and CYP2D6 isoforms highly involve in PGx testing. Therefore, five variants related to these CYPs focusing on Thai and Asian populations were selected. The optimal annealing temperature and critical denaturation temperature (Tc) were determined and evaluated using Sanger sequencing of 27 randomly collected samples. The single-reaction issue was resolved in combination of precise Tc including Tc1 = 75.0 °C (10 cycles), Tc2 = 87.0 °C (10 cycles), and, finally, Tc3 = 90.5 °C (20 cycles). The results showed 100% sensitivity and specificity, with perfect agreement (κ = 1.0) compared to Sanger sequencing. Moreover, this study also introduces whole exome sequencing (WES) on two samples to compare previously developed results from COLD-PCR with validated method - Sanger sequencing. Results showed perfect correlation between three methods. Although, the efficiency and reliability become increased using sequencing technique, some limitations still exist complementing in routine medical laboratory workflow including high cost and time consuming. Therefore, by using newly developed fast-COLD-PCR as the screening test, it can be an alternative pipeline for pharmacogenomics profiling. It benefits cost and time saving by screening out wild-type samples and only positive mutant samples need to perform genotyping analysis in further. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.title | Development of protocol for detecting cytochrome p450 genes related to drug hypersensitivity by cold-pcr in comparison with target gene sequencing results | en_US |
dc.title.alternative | การพัฒนาวิธีการตรวจยีนไซโตโครม พี 450 ที่เกี่ยวข้องกับภาวะภูมิไวเกินโดย โคลด์-พีซีอาร์และเปรียบเทียบผลกับการหาลำดับพันธุกรรมของยีนเป้าหมาย | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | Pharmacogenetics | - |
thailis.controlvocab.thash | Genes | - |
thailis.controlvocab.thash | Genetics | - |
thailis.controlvocab.thash | Mutation (Biology) | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | ปัจจุบันการรักษาด้วยการแพทย์แม่นยำมีปัจจัยหลายประการที่ต้องใช้ประกอบการตัดสินใจทางคลินิกเนื่องจากความหลากหลายทางพันธุกรรมของชาติพันธุ์ ประวัติครอบครัว และประวัติสุขภาพอื่น ๆ แม้ว่าปัจจุบันมีการพัฒนาเทคนิคการตรวจขั้นสูง แต่สำหรับการตรวจทางเภสัชพันธุศาสตร์อาจยังมี ข้อจำกัดในการนำไปใช้โดยเฉพาะในประเทศกำลังพัฒนา วัตถุประสงค์ของการศึกษานี้คือเพื่อพัฒนา วิธีการตรวจเบื้องต้นที่ใช้งานง่าย ที่สามารถคัดกรองคนที่ไม่มีการกลายพันธุ์ของยีนไซโตโครมออกจาก คนที่มีการกลายพันธุ์ก่อนทำการวิเคราะห์จีโนไทป์ด้วยเทคนิคอื่นต่อไป วิธีการดังกล่าวจะช่วยลด ค่าใช้จ่ายในการตรวจในผู้ป่วยได้โดยไม่จำเป็นต้องตรวจด้วยเทคนิคการตรวจขั้นสูงที่มีราคาแพงในผู้ป่วยทุกราย งานวิจัยนี้พัฒนาวิธีการตรวจคัดกรองการกลายพันธุ์ของยีนไซโตโครมด้วยวิธีโคลด์-พีซีอาร์โดย ทดสอบกับการกลายพันธุ์ของยีน CYP2C9, CYP2C19 และ CYP2D6 ทั้งหมด 5 แบบ ที่พบบ่อยใน ประชากรไทยและเอเชียโดยทำการหาสภาวะที่เหมาะสมของ annealing และ critical denaturation temperature (Tc)จากนั้นประเมินความใช้ได้ของวิธีการที่พัฒนาขึ้นใหม่ด้วยการเปรียบเทียบผลกับการ วิเคราะห์หาลำดับนิวคลีโอไทด์ด้วยเทคนิค Sanger ในตัวอย่างเลือดจำนวน 27 ตัวอย่าง ผลการวิจัยพบว่า สภาวะที่เหมาะสมคือการใช้ Tc 3 อุณหภูมิ ได้แก่ Tc1 = 75.0 °C (10 รอบ) Tc2 = 87.0 °C (10 รอบ) และ Tc3 = 90.5 °C (20 รอบ) ในคัดกรองการกลายพันธุ์ของยีนทั้ง 5 แบบ ผลการทดสอบความแม่นยำพบว่ามี ความไวและความจำเพาะ 100% (κ = 1.0) เมื่อเทียบกับการวิเคราะห์หาลำดับนิวคลีโอไทด์ด้วยเทคนิค Sanger นอกจากนี้ ยังเปรียบเทียบผลการทดสอบกับการวิเคราะห์ลำดับนิวคลีโอไทด์ในส่วนของแอกซอน ของตัวอย่างจำนวน 2 ตัวอย่าง พบว่าผลการทดสอบมีความสอดคล้องกันระหว่างสามวิธีนี้ แม้ว่าเทคนิค การวิเคราะห์ลำดับนิวคลีโอไทด์จะสามารถวิเคราะห์ได้ถึงระดับจีโนไทป์ แต่ยังมีข้อจำกัดในการนำมาใช้ ในงานประจำวันของห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ ทั้งในด้านราคาสูงและใช้เวลานาน โดยเฉพาะใน ห้องปฏิบัติการที่ไม่สามารถตรวจวิเคราะห์ได้เองเนื่องจากขาดเครื่องมือที่จำเป็นที่ราคาแพง ดังนั้น การนำ เทคนิคโคลด์-พีซีอาร์มาใช้ในการคัดกรองตัวอย่างที่ไม่มีการกลายพันธุ์ออกก่อน จึงน่าจะเป็นอีกทางเลือก หนึ่งของห้องปฏิบัติการที่จะลดค่าใช้จ่ายและทำให้การตรวจวิเคราะห์เร็วขึ้น โดยสามารถเลือกตรวจ วิเคราะห์จีโนไทป์เฉพาะในตัวอย่างที่ผ่านการคัดกรองแล้วและพบว่ามีการกลายพันธุ์เกิดขึ้น | en_US |
Appears in Collections: | AMS: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
631135806- YU MYAT NANDAR.pdf | THESIS BOOK | 1.98 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.