Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77761
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิริพงษ์ ลดาวัลย์ ณ อยุธยา-
dc.contributor.authorภานุวัฒน์ กุยแก้วen_US
dc.date.accessioned2022-10-28T12:09:01Z-
dc.date.available2022-10-28T12:09:01Z-
dc.date.issued2022-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77761-
dc.description.abstractThis research aimed to 1) study the role of the government as a driving force of the global exportation of the music industries of South Korea, Japan, and Thailand from 2014 to 2021, 2) study the problems of the driving force of the exportation of the music industry of Thailand from the past until the present, and 3) propose methods to adapt patterns and procedures from Japan and South Korea to Thailand’s music industry exportation. 1) South Korea and Japan’s governments, together with their public sectors, were a major part driving the global exportation of their respective music industries. The governments from the two mentioned countries were determined in supporting the processes including production, advertisement, and marketing. The Thai government, in practice, did not have concrete patterns and procedures. However, strategies to support the film and media industries were established during Phase 3 (2017-2021). 2) The problems of the driving force of Thailand’s global exportation of the music industry were caused by the government, the private sectors, and the public sectors. These include over-controlling bureaucratic systems, a lack of opportunities for music industry experts to develop necessary skills and knowledge, and the production of works that lack Thai identity. 3) Creativity should be stressed as the main quality of Thai music industry individuals to produce unique work by adapting, not imitating, others to create Soft power via the Thai music industry. In addition, the determined cooperation between the government and public sectors can drive the Thai music industry towards success.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการขับเคลื่อนอุตสาหกรรมเพลงไทยen_US
dc.subjectการส่งออกอุตสาหกรรมเพลงen_US
dc.subjectอุตสาหกรรมเพลง K-popen_US
dc.subjectอุตสาหกรรมเพลง J-popen_US
dc.titleแนวทางของภาครัฐในการขับเคลื่อนอุตสาหกรรมเพลง เพื่อการส่งออกของประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeGuideline for driving the Thailand’s industry in music exportsen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashรัฐบาล -- ไทย-
thailis.controlvocab.thashเพลง -- ไทย-
thailis.controlvocab.thashเพลง -- เกาหลี-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาบทบาทภาครัฐ ในการขับเคลื่อนอุตสาหกรรมเพลงเพื่อการส่งออกในตลาดโลกของสาธารณรัฐเกาหลี ญี่ปุ่น และไทย (พ.ศ.2557-พ.ศ.2564) 2) ศึกษาปัญหาการขับเคลื่อนอุตสาหกรรมเพลงเพื่อการส่งออกในตลาดโลกของไทย (พ.ศ.2557-พ.ศ.2564) และ 3) นำเสนอแนวทางและวิธีการดำเนินงานของประเทศญี่ปุ่นและสาธารณรัฐเกาหลีมาปรับใช้กับอุตสาหกรรมเพลงไทย 1) ภาครัฐของสาธารณรัฐเกาหลีและญี่ปุ่นมีบทบาทอย่างมากในการขับเคลื่อนอุตสาหกรรมเพลงเพื่อการส่งออกร่วมกับภาคเอกชน โดยในการดำเนินงานภาครัฐของทั้ง 2 ประเทศมีความมุ่งมั่นและจริงจังทั้งในด้านการส่งเสริมกระบวนการผลิต การประชาสัมพันธ์ และการตลาด ส่วนภาครัฐของไทยแม้จะมีการกำหนดยุทธศาสตร์การส่งเสริมอุตสาหกรรมภาพยนตร์และวีดีทัศน์ ระยะที่ 3 แต่ในทางปฏิบัติยังไม่มีรูปแบบหรือแนวทางที่ชัดเจนในการบริหารงาน 2) ปัญหาการขับเคลื่อนอุตสาหกรรมเพลงเพื่อการส่งออกของไทย ที่ผ่านมาเกิดจากทั้งภาครัฐ เอกชนและประชาชน เช่น การทำงานตามระบบราชการที่ควบคุมมากเกินไป บุคลากรทางดนตรียังขาดโอกาสในการพัฒนาความรู้และทักษะ การผลิตผลงานที่ขาดอัตลักษณ์ความเป็นไทย ฯลฯ เป็นต้น 3) ควรมีการพัฒนาคุณภาพคนให้มีสมรรถนะที่พร้อมคิดสร้างสรรค์ผลงานที่มีเอกลักษณ์ของไทยเพื่อสร้างเป็นอำนาจละมุน พร้อมทั้งภาครัฐและเอกชนจะต้องสร้างความร่วมมือช่วยกันผลักดันอุตสาหกรรมเพลงของไทยให้ประสบความสำเร็จen_US
Appears in Collections:POL: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621931008 นายภานุวัฒน์ กุยแก้ว .pdf2.46 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.