Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77749
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชัยวุฒิ ตั้งสมชัย-
dc.contributor.authorอภินันทน์ ปันธิen_US
dc.date.accessioned2022-10-27T11:11:48Z-
dc.date.available2022-10-27T11:11:48Z-
dc.date.issued2022-08-24-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77749-
dc.description.abstractThis independent study aimed at studying on savings of Chiang Mai University employees. Total 388 samples were collected by questionnaire. Descriptive statistics was used to describe savings behavior of Chiang Mai University employees. In addition, Multiple Regression Analysis was applied to analyze the factors affecting the savings. The results of the study on saving of Chiang Mai University employees showed that the number of male and female samples were equal. Most of them were under 30 years old, married, with a bachelor's degree, with 3 to 4 family members, working age of not over than 10 years, working at operation level, with about 15,001 to 25,000 baht per month income, average expenses under 10,000 baht per month and no medical expenses. For the saving behavior, the study found that most of them decided to save by themselves for emergency expenses. Savings were in the form of deposit accounts at financial institutions. Savings were on a monthly basis, not more than 5,000 baht from payroll deduction. The amount of savings was not in certain in each month. The study also found that the amount of income and expenses had the most important to the decision to save. For the analysis using multiple regression analysis. The study found that income and expenses had a significant relationship with savings that could be predicted by 66.0 percent at the significance level of 0.05. Ceteris paribus, if the monthly income increased by 1 Baht, the monthly savings would increase by 0.473 Baht and if the monthly expenses increased by 1 Baht, the monthly savings would decrease by 0.402 Baht.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการออมของบุคลากร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectSavings of Chiang Mai University Employeesen_US
dc.titleการศึกษาการออมของบุคลากรมหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeA Study on savings of Chiang Mai University employeesen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ -- บุคลากร-
thailis.controlvocab.thashการออมกับการลงทุน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการออมของบุคลากรมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยใช้แบบสอบถามเก็บข้อมูลจากบุคลากรมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จำนวน 388 ตัวอย่าง ซึ่งใช้สถิติเชิงพรรณนาเพื่ออธิบายถึงพฤติกรรมการออมของบุคลากรมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และใช้สถิติเชิงอนุมานเพื่ออธิบายปัจจัยที่มีผลต่อปริมาณการออมโดยการวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุ ผลการศึกษาการออมของบุคลากรมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จากกลุ่มตัวอย่างเป็นเพศชายและหญิงจำนวนเท่ากัน ส่วนใหญ่มีอายุไม่เกิน 30 ปี มีสถานภาพสมรส จบการศึกษาระดับปริญญาตรี มีจำนวนสมาชิกในครอบครัว 3 ถึง 4 คน มีอายุงานไม่เกิน 10 ปี ปฏิบัติงานตำแหน่งระดับปฏิบัติการ มีรายได้ต่อเดือนเฉลี่ย 15,001 ถึง 25,000 บาท มีค่าใช้จ่ายต่อเดือนเฉลี่ยไม่เกิน 10,000 บาท และไม่มีค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ โดยพบว่าพฤติกรรมการออมของบุคลากรส่วนใหญ่มีการตัดสินใจออมด้วยตนเอง โดยออมเพื่อเก็บไว้ใช้จ่ายยามฉุกเฉิน ซึ่งเลือกออมไว้ในบัญชีเงินฝากประเภทต่าง ๆ ในสถาบันการเงิน มีการออมประจำทุกเดือน เดือนละไม่เกิน 5,000 บาท จากการหักบัญชีเงินเดือน ในแต่ละเดือนไม่ได้จำกัดวงเงินการออมที่แน่นอน และปริมาณรายได้และปริมาณค่าใช้จ่ายมีความสำคัญต่อการตัดสินใจออมระดับมากที่สุด ส่วนในการวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุพบว่ารายได้และค่าใช้จ่ายมีความสัมพันธ์ต่อการออมซึ่งสามารถอธิบายปริมาณการออมได้ถึงร้อยละ 66.0 ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 โดยเมื่อให้ปัจจัยอื่นคงที่ รายได้ต่อเดือนที่เพิ่มขึ้น 1 บาท ทำให้การออมต่อเดือนเพิ่มขึ้น 0.473 บาท และเมื่อค่าใช้จ่ายต่อเดือนที่เพิ่มขึ้น 1 บาท ทำให้การออมต่อเดือนลดลง 0.402 บาทen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621532145-อภินันทน์ ปันธิ.pdf1.78 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.