Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77745
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ณภัทร จักรวัฒนา | - |
dc.contributor.author | นภสร ศรีจันทร์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-10-27T10:27:25Z | - |
dc.date.available | 2022-10-27T10:27:25Z | - |
dc.date.issued | 2022-10 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77745 | - |
dc.description.abstract | Agriculture plays a role in contributing to global warming by being both a source of greenhouse gas emissions and a carbon sink. Therefore, the aims of this study comparative assessment of carbon footprint and carbon balance of organic and chemical agriculture. The carbon footprint approach based on the Life cycle assessment (LCA) tool is used to quantify life cycle greenhouse gas emission of organic agriculture compared to chemical agricultural systems. The study vegetables were kale, cauliflower, and eggplant. The results showed that carbon footprint in organic agriculture was less than chemical agriculture in all vegetables. Organic agriculture of kale, cauliflower, and eggplant can reduce greenhouse gas emissions by 65%, 67% and 61% respectively. In addition, the results of the research enable management enhance fertilizer application practices, the organic carbon increase in the soil and it also helps to reduce greenhouse gas emissions effectively. Leading to the purchase of carbon credits from agricultural projects | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การประเมินเปรียบเทียบคาร์บอนฟุตพริ้นท์และสมดุลคาร์บอนของเกษตรอินทรีย์และเกษตรใช้สารเคมี | en_US |
dc.title.alternative | Comparative Assessment of Carbon Footprint and Carbon Balance of Organic and Chemical Agriculture | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | คาร์บอนฟุตพริ้นท์ | - |
thailis.controlvocab.thash | เกษตรอินทรีย์ | - |
thailis.controlvocab.thash | สารเคมีทางการเกษตร | - |
thailis.controlvocab.thash | ภาวะโลกร้อน | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การทำเกษตรกรรมมีส่วนทำให้เกิดภาวะโลกร้อนโดยเป็นทั้งแหล่งปล่อยก๊าซเรือนกระจกและแหล่งกักเก็บคาร์บอน ดังนั้นจุดมุ่งหมายของการศึกษานี้คือประเมินค่าการปล่อยคาร์บอนฟุต พริ้นต์ของการเพาะปลูกพืชแบบเกษตรอินทรีย์เทียบกับเกษตรใช้สารเคมีและประเมินศักยภาพการลดก๊าซเรือนกระจกของการเพาะปลูกพืชแบบเกษตรอินทรีย์และศึกษาสมดุลคาร์บอนในดินของการเพาะปลูกพืชแบบเกษตรอินทรีย์เทียบกับเกษตรใช้สารเคมี โดยคำนวณคาร์บอนฟุตพริ้นต์ตามเครื่องมือประเมินวัฏจักรชีวิต (LCA) เพื่อวัดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของการเพาะปลูกเกษตรอินทรีย์เทียบกับเกษตรใช้สารเคมี ผักที่ใช้ศึกษา ได้แก่ คะน้า กะหล่ำดอก และมะเขือยาว ผลการวิจัยพบว่า คาร์บอนฟุตพริ้นท์ในเกษตรอินทรีย์น้อยกว่าการทำเกษตรใช้สารเคมี โดยการเพาะปลูกแบบเกษตรอินทรีย์ของ คะน้า กะหล่ำดอก มะเขือยาว สามารถลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้ 65 %, 67 % และ 61 % ตามลำดับ และการวิเคราะห์สมดุลคาร์บอน จากการศึกษาพบว่าการทำเกษตรอินทรีย์มีการสะสมคาร์บอนในดินมากกว่าเกษตรใช้สารเคมี จากการศึกษานี้นำไปสู่การจัดการปรับปรุงการใช้ปุ๋ยให้ถูกต้องเหมาะสม เพื่อเพิ่มอินทรีย์คาร์บอนในดิน และยังเป็นการช่วยลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้อย่างมีประสิทธิภาพ นำไปสู่การซื้อคาร์บอนเครดิตจากโครงการทางภาคการเกษตร | en_US |
Appears in Collections: | ENG: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
630631018-นภสร ศรีจันทร์.pdf | 4.91 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.