Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74245
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ศิริพงษ์ ลดาวัลย์ ณ อยุธยา | - |
dc.contributor.author | ควัง, โฮ ซง | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-10-15T09:25:44Z | - |
dc.date.available | 2022-10-15T09:25:44Z | - |
dc.date.issued | 2564-05 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74245 | - |
dc.description.abstract | The purpose of this research is to: 1) study the collaboration in marine and fisheries sectors between Thailand and the Republic of Korea such as the maritime transport industry, port management, container shipping and marine logistics; 2) analyze the needs and expectations of public and private sectors of both countries to improve collaboration; and 3) provide a framework for collaboration that needs to be negotiated, discussed, and improved to reach consensus now and in the future. The research methodology was based on qualitative research by gathering data from related documents and in-depth interviews with a total of 17 people including 6 governmental officials, 7 private sector and 4 academic sector representatives. This study shows the following results. 1) Thailand and The Republic of Korea have cooperated in eradicating illegal fishing through technology transfer, knowledge-sharing and advanced fishery inspection and control experience sharing, as well as opening new shipping routes and developing port service systems that meet international standards. 2) The public and private sectors of both countries want to cooperate in marine logistics and upgrade Laem Chabang Port with modern service and transportation systems to reduce costs and increase competitiveness of transport and logistics companies. 3) For the development of a framework for collaboration, the following should be discussed: establishment of research networks in the maritime transport industry, port management, container shipping and marine logistics, exchange of personnel between the two countries, and the establishment of an expert committee to jointly supervise the various responsibilities of conducting business by private companies in the EEC. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | แนวทางการพัฒนาความร่วมมือด้านภาคทะเล และการประมง ระหว่างประเทศไทยและสาธารณรัฐเกาหลี | en_US |
dc.title.alternative | Guidelines for the collaboration development in the marine and fisheries sectors between Thailand and the Republic of Korea | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | ประมง | - |
thailis.controlvocab.thash | ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ | - |
thailis.controlvocab.thash | ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความร่วมมือภาคทะเลและการประมงด้านวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยีสาขาอุตสาหกรรมการขนส่งสินค้าทางทะเล การจัดการท่าเทียบเรือ ตู้คอนเทนเนอร์ โลจิสติกส์ และ กิจการโลจิสติกส์พาณิชนาวีระหว่างประเทศไทยกับสาธารณรัฐเกาหลีที่ผ่านมา 2) วิเคราะห์ความคาดหวัง ต้องการของภาครัฐ และเอกชนของทั้งสองประเทศในการพัฒนาความร่วมมือ ดังกล่าว และ 3) นำเสนอกรอบความร่วมมือที่จำเป็นต้อง ได้รับการเจรจาพูดคุย และพัฒนาเพื่อนำไปสู่ การทำข้อตกลงในปัจจุบันและในอนาคต การศึกษาใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพโดยเก็บรวบรวม ข้อมูลจากเอกสารและการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลจากตัวแทนจากภาครัฐ 6 คนภาคเอกชน 7 และ ภาค สถาบันการศึกษา 4 คนของทั้งสองประเทศ เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวม ข้อมูล ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ กึ่งมีโครงสร้าง ผลการศึกษา พบว่า 1) สาธารณะรัฐเกาหลีและไทยได้มีความร่วมมือในด้านการกำจัดการทำ ประมงที่ผิดกฎหมายด้วยการแบ่งปันเทคโนโลยี ถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์เกี่ยวกับการตรวจสอบ และ ควบคุม การจับปลาขั้นสูงเพื่อกำจัดการทำประมงที่ผิดกฎหมาย การเปิดเส้นทางเดินเรือใหม่ และ การพัฒนา ระบบบริการท่าเรือให้มีมาตรฐานสากล 2) ภาครัฐและภาคเอกชนของทั้งสองประเทศมี ความคาดหวังและ ต้องการ ร่วมมือกันในด้านโลจิสติกส์พาณิชนาวี การพัฒนาท่าเรือแหลมฉบังให้ เป็นท่าเรือยุคใหม่ มีระบบบริการและ การขนส่งที่ทันสมัยเพื่อลดต้นทุนและเพิ่มขีดความสามารถใน การแข่งขันของบริษัทขนส่งและ โลจิสติกส์ และ 3) กรอบความร่วมมือที่ต้องพัฒนา ได้แก่ การจัดตั้ง เครือข่ายการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับค้านวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี การจัดการท่าเทียบเรือสินค้า ตู้คอน เทนเนอร์โลจิสดิกส์ การแลกเปลี่ยนบุคลากร และ การจัดตั้งคณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญร่วมมากำกับ ดูแลรับผิดชอบด้านต่างๆ ที่ภาครัฐ และ เอกชนที่เข้ามาทำกิจการในพื้นที่ EEC เป็นต้น | en_US |
Appears in Collections: | POL: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
621931003 KWANG HO SONG.pdf | 3.67 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.