Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74244
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พีระวุฒิ วงศ์สวัสดิ์ | - |
dc.contributor.advisor | ชโลบล วงศ์สวัสดิ์ | - |
dc.contributor.author | วิภาวินี เฉยปัญญา | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-10-15T09:23:53Z | - |
dc.date.available | 2022-10-15T09:23:53Z | - |
dc.date.issued | 2564-07 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74244 | - |
dc.description.abstract | The study of infection and identification of Anisakis spp. was done in mackerel fish included blue mackerel (Scomber australasicus) and Indian mackerel (Rastrelliger kanagurta). The results showed the highest prevalence, intensity, and abundance in blue mackerel were 78%, 6.69 and 5.22. While, in Indian mackerel were 22%, 2.73 and 0.6 respectively. Moreover, this study also found Anisakis in body cavity; 98.47% and liver; 1.53% in blue mackerel. Although, for Indian mackerel was found Anisakis in only body cavity (100%). The morphological study was investigated by using a light microscope and scanning electron microscope. This study found the important characters of Anisakis larva such as boring tooth, ventriculus and mucron. In addition, SEM of the larvae showed the difference of excretory pore and mucron between Anisakis pegreffi and A. typica. Anisakis pegreffi have excretory pore with pore-shaped and mucron with cone-shaped while A. typica have excretory pore with longitudinal slit and mucron with cylindrically shaped. The statistical analysis revealed that weight and length of blue mackerel was not related to infection rate (p > 0.05); however, the weight and length of Indian mackerel was related to infection rate (p < 0.05). The molecular study of mt DNA cox2 was used to identify Anisakis larva from mackerel. A. pegreffii were found in blue mackerel and A. typica were found in Indian mackerel. The phylogenetic tree was showed all clades of Anisakis related to morphology of Anisakis larvae. In addition, HAT-RAPD method can use for detecting Anisakis species. For species delimitation method was showed possible the cryptic species with A. typica. The information of morphological and molecular in this study can use for classified of Anisakis larvae and concern about the epidemic of Anisakis in human in the future. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การติดพยาธิและการระบุชนิดของพยาธิตัวกลม Anisakis spp. ในปลาแมคเคอเรล | en_US |
dc.title.alternative | Infection and identification of Nematode Anisakis spp. in Mackerel fish | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | พยาธิตัวกลม | - |
thailis.controlvocab.thash | พยาธิ | - |
thailis.controlvocab.thash | ปลาซาบะ | - |
thailis.controlvocab.thash | ปลาทูลัง | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษาในครั้งนี้เป็นการตรวจสอบการติดพยาธิและระบุชนิดของพยาธิตัวกลม Anisakis spp. ในปลาแมคเคอเรล 2 ชนิดคือ ปลาซาบะ (Scomber australasicus) และปลาทูลัง (Rastrelliger kanagurta) ผลการศึกษาพบว่าค่าความชุก ความหนาแน่นและความอุคมสมบูรณ์มีค่าสูงสุดในปลาซาบะ มีค่าความชุกเท่ากับ 78% ความหนาแน่น 6.69 และค่าความอุดมสมบูรณ์ 5.22 ในขณะที่ปลาทูลัง มีค่าความชุกเท่ากับ 22% ความหนาแน่น 2.73 และด่ความอุดมสมบูรณ์ 0.6 ตามลำดับ นอกจากนี้ในการศึกษาครั้งนี้ยังพบ พยาธิตัวกลมในปลาซาบะที่บริเวณช่องว่างลำตัว 98.47% และตับ 1.53% แต่ในปลาทูลังพบ Anisakis บริเวณช่องว่างลำตัวเท่านั้น 100% การศึกษาทางค้นสันฐานวิทยาโดยใช้กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสงและ กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด ในการศึกษาครั้งนี้พบลักษณะตัวอ่อนของ Anisakis ได้แก่ boring tooth, ventriculus และ mucron ยิ่งไปกว่านั้นการศึกษาแบบใช้กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบ ส่องกราดในระยะตัวอ่อนแสดงให้เห็นถึงความแตกต่างของ excretory pore และ mucron ใu Anisakis pegreffi และ A. typica ต่างกัน โดย A. pegreffi จะมีลักษณะของ excretory แเบบรู (pore) และมี mucron มี ลักษณะเป็นทรงกรวย (cone) ขณะที่ A. typica มีลักษณะของ excretory แบบรอยแยกตามยาว (longitudinal slit ส่วนของ mucron เป็นลักษณะทรงกระบอก (cylindrical) การวิเคราะห์ทางสถิติโดยวิธี linear regression พบว่าในปลาซาบะทั้งความขาวและน้ำหนักไม่มีความสัมพันธ์ต่อการติดเชื้อของหนอนพยาธิ (p > 0.05) อย่างไรก็ตามในปลาทูลังทั้งความขาวและน้ำหนักมีความสัมพันธ์กับการติดเชื้อของ หนอนพยาธิ (p < 0.05) ในการศึกษาอณูชีววิทยาพบว่าการใช้ยืนไมโตรคอนเครียดีเอ็นเอ cox2 ใช้ในการ ระบุชนิดของระยะตัวอ่อน Anisakis จากปลาแมคเคอเรล โดยชนิด A. pegreffi พบในปลาซาบะ ส่วนใน ปลาทูลังพบว่าเป็นชนิด A. typica แผนภูมิต้นไม้ทางวิวัฒนาการแสดงให้เห็นการจับกลุ่มกันที่สัมพันธ์กับ ลักษณะสัณฐานวิทยาของระยะตัวอ่อน Anisakis นอกจากนี้ยังพบว่าวิธี HAT-RAPD สามารถใช้ในการ ตรวจสอบชนิดของ Anisakis ได้ ส่วนวิธี species delimitation พบว่ามีความเป็นไปได้ที่พบ cryptic species ปรากฏใน A. typicaโดยข้อมูลจากการศึกษาทางด้านสัณฐานวิทยาและอณูชีววิทยาสามารถนำไปใช้ ประโยชน์ในการจัดจำแนกระยะตัวอ่อนของ Anisakis และเฝ้าระวังการระบาดของหนอนพยาธิในคนใน อนาคต | en_US |
Appears in Collections: | SCIENCE: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
600531031 วิภาวินี เฉยปัญญา.pdf | 4.45 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.