Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74243
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ชัยวัฒน์ นันทศรี | - |
dc.contributor.author | สุรดา ปฐวีวิจิตร | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-10-15T09:22:21Z | - |
dc.date.available | 2022-10-15T09:22:21Z | - |
dc.date.issued | 2564-06 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74243 | - |
dc.description.abstract | This study was the research and development. The objective was to develop an online learning system with massive open online course for Chiang Mai Rajabhat University. The first step was studying theories and related literature, including the current aspect of education in Chiang Mai Rajabhat University. After that, the researcher developed system based on the theory of Systems development Life cycle. Furthermore, the important tool used in system development was platform called Open edX. Result of the research was an online learning system included learning management system for student to access the content of courses and course management system for instructor. Moreover, instructors can assign all activities in the class as well as specify criteria for evaluation. When students finish the course, they will receive their grades. Therefore, online learning system with MOOC can be used for courses from enrollment to get the grade. In addition, users can access through any device that installs web browser. Furthermore, the online learning system was implement to an English for information professionals course of the first semester 2018 in Chiang Mai Rajabhat University. Data collection instruments were online satisfaction questionnaires and pretest-posttest. The system evaluation from 21 users, 20 learners and 1 instructor found that satisfaction of user ranked at a high level. (Average score was 4.36). Regarding the learning achievement, the posttest average score was better than the pretest average score. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การพัฒนาระบบการเรียนการสอนออนไลน์ด้วยหลักการ MOOC สำหรับมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | The Development of online learning system with Massive Open Online Course (MOOC) for Chiang Mai Rajabhat University | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ | - |
thailis.controlvocab.thash | แบบเรียนสำเร็จรูป | - |
thailis.controlvocab.thash | การสอนด้วยสื่อ | - |
thailis.controlvocab.thash | เทคโนโลยีทางการศึกษา | - |
thailis.controlvocab.thash | การศึกษาขั้นอุดมศึกษา | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบการเรียนการสอนออนไลน์ ด้วยหลักการ MOOC สำหรับมหาวิทยาลัยราชกัฎเชียงใหม่ โดยมีวิธีการดำเนินงานคือ ศึกษาทฤยฎี และวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องรวมไปถึงศึกษาสภาพปัจจุบันของการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัยราชกัฏ เชียงใหม่และลงมือพัฒนาระบบ โดยยึดตามทฤยฎีวัฎจักรการพัฒนาระบบ เครื่องมือสำคัญที่ใช้ในการ พัฒนาระบบ ได้แก่ แพลตฟอร์ม ชื่อว่า Open edX ผลลัพธ์ที่ได้คือ ระบบการเรียนการสอนออนไลน์ ซึ่งประกอบด้วยส่วนของผู้เรียนที่ใช้ในการเข้าถึง เนื้อหาในคอร์สเรียนและส่วนของผู้สอนที่ใช้ในการบริหารจัดการคอร์สเรียน ผู้สอนสามารถกำหนด กิจกรรมทุกอย่างในชั้นเรียนรวมทั้งกำหนดเกณฑ์การ วัดผลประเมินผล เมื่อผู้เรียนปฏิบัติตาม กระบวนการในคอร์สเรียน ผู้เรียนก็จะได้รับผลการเรียน ดังนั้นระบบการเรียนการสอนออนไลน์ด้วย หลักการ MOOC จึงสามารถนำมาใช้ในการเรียนตั้งแต่ลงทะเบียนเรียนจนถึงได้รับผลการเรียน โดยที่ ผู้ใช้สามารถเข้าใช้งาน ได้ผ่านทุกอุปกรณ์ที่ติดตั้งเว็บบราวเซอร์ และผู้ศึกษายังได้นำระบบไปใช้ใน การเรียนการสอนรายวิชาภาษาอังกฤษสำหรับนักวิชาชีพสารสนเทศในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามความพึงพอใจ ออนไลน์ โดยหาก่าเฉลี่ยและส่วนเยี่ยงเบนมาตรฐาน และแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ผลการประเมินระบบของผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน 20 คน เป็นผู้เรียน 21 ดน เป็นผู้สอน 1 คน พบว่า มีความพึงพอใจต่อระบบอยู่ในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.36) ส่วนการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนพบว่า ค่าเฉลี่ยของคะแนนการทำแบบทคสอบหลังเรียนมากกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนก่อนเรียน | en_US |
Appears in Collections: | GRAD-Sciences and Technology: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
599932045 สุรดา ปฐวีวิจิตร.pdf | 7.04 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.