Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74232
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจารึก สิงหปรีชา-
dc.contributor.advisorนิสิต พันธมิตร-
dc.contributor.advisorอนุภาค เสาร์เสาวภาคย์-
dc.contributor.authorอมรรัตน์ อยู่โตen_US
dc.date.accessioned2022-10-15T09:03:03Z-
dc.date.available2022-10-15T09:03:03Z-
dc.date.issued2564-07-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74232-
dc.description.abstractThe sugar industry of Thailand significantly contributes to the Thai economic system since the sugar industry heightens the employment rates and also generates income for the country from sugar exports. Thailand comes in second place in the world in terms of exporting sugar. Presently, international trades have become more independent and accord to the World Trade Organization (WTO). The impeachment of Brazil drives Thailand to restructure its sugarcane and sugar industry by floating the national sugar price between the year 2017/18 and 2018/19. The purpose of this study is to analyze the problems, obstacles, and effects of the abolition of Thailand's sugar exports quota system on the Thai sugar industry. And to find a solution to the situation and create the policy formulation by applying the Global Trade Analysis Project (GTAP), which is the Computable Gencral Equilibrium (CGE Model) to analyze the conomic impact on the sugar industry and the economy of Thailand. The result of the research is showed that the abolition of the sugar exports causes the sugar industry to lose stability in terms of quantity. As the international sugar price fluctuates, it is shown that the problem caused by the shift of the sugar policy leads to the production consequences of sugarcane farmers. The decline of the sugar production was imputable to the lack of price motivation by the sugarcane farmers as the minor sugarcane farmers, who are prone to means of production, were pressured to go out of the sugar industry. Additionally, the marketing problems such as the short-term price competition can lead to the long-term monopolization of sugar products if the sugar industry loses stability in terms of both quantity and price. Considering the effects on quantity from a simulated situation of WTO's trade liberalization by lowering the tariff equivalent to zero, it is found that the resource allocation of Thailand's sugar industry has heightened, based on the net economic welfare using money as an indicator that was increased by 9.80 million USD. Taking into account that the Gross Domestic Product (GDP) expansion rate has only raised a little by 0.0002 percent since the import of sugar have increased by 1 17.71 percent whereas the export rates have increased by only 0.05 percent causing a trade deficit of 37.70 million USD. As this research investigated the sugar industry by liberalizing the trade, it was found that the domestic sugar price has lowered by only 0.01 percent, at the same time, the domestic production rate of sugar has lowered by 1.06 percent making the domestic consumable sugar became scarcer at 2.99 percent. Thus, Thailand should not fully liberalize the trade of sugar products. The government should plan to manage sugar for domestic needs, and they should not decrease the sugar's tariff in order to preserve the domestic sugar industry. Moreover, the government may support the development of the sugarcane farms which are considered as the upstream company to maintain the stability of the sugar industry onwards.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleผลกระทบจากการยกเลิกระบบโควตาการส่งออกน้ำตาลของไทยที่มีผลต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลen_US
dc.title.alternativeThe Impact of the abolition of the sugar quota system in Thailand on sugar industryen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashอุตสาหกรรมน้ำตาล -- ไทย-
thailis.controlvocab.thashน้ำตาล -- การส่งออก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractอุตสาหกรรมน้ำตาลของไทยเป็นอุตสาหกรรมที่มีบทบาทสำคัญต่อระบบเศรษฐกิจที่ก่อให้เกิด การจ้างงานแล้วยังช่วยสร้างรายได้จากการส่งออกน้ำตาลให้กับประเทศอีกด้วย โดยไทยเป็นประเทศผู้ ส่งออกน้ำตาลรายใหญ่เป็นอันดับสองของโลกและปัจจุบันการทำการค้าระหว่างประเทศมีความเสรี มากยิ่งขึ้นเพื่อให้สอดคล้องกับองค์การการค้าโลก WTO (World Trade Organization) จากประเด็น การยื่นฟ้องร้องของสหพันธ์สาธารณรัฐบราซิลกล่าวหาไทยในการอุดหนุนอุตสาหกรรมน้ำตาลนำมา สู่การปรับโครงสร้างอุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลทรายของไทยโดยการประกาสถอยตัวราคาน้ำตาล ภายในประเทศระหว่างปีการผลิต 2560/61 และ 2561/62 การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคตถอดจนผลกระทบจากการยกเลิก ระบบโควตาการส่งออกน้ำตาลของไทยที่มีผลต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลเพื่อหาแนวทางการรับมือและ นำไปสู่การกำหนดเชิงนโยบาย โดยอาศัยแบบจำลองการวิเคราะห์การค้าโลก GTAP (Global Trade Analysis Project) ซึ่งเป็นแบบจำลองการวิเคราะห์ดุลยภาพทั่วไป CGE Model (Computable General Equilibrium) เพื่อนำมาวิเคราะห์ผลกระทบทางเศรษฐกิจต่อระดับอุตสาหกรรมน้ำตาลและ ระดับประเทศ ผลการศึกษาเมื่อยกเลิกระบบโควตาการส่งออกน้ำตาลของไทยแล้วทำให้อุตสาหกรรมน้ำตาล ขาดเสถียรภาพทางค้านปริมาณและจากที่ราคาน้ำตาลในตลาดโลกผันผวน พบว่า ปัญหาที่เกิดขึ้นจาก การเปลี่ยนแปลงนโยบายดังกล่าวส่งผลกระทบต่อด้านการผลิตของเกษตรกรชาวไร่อ้อยที่มีปริมาณ ผลผลิตที่ลดลง เนื่องจากขาดแรงจูงใจทางด้านราคาที่เกษตรกรได้รับส่งผลให้เกษตรกรรายเล็กซึ่งขาด ความพร้อมทางด้านปัจจัยการผลิตต้องออกจากอุตสาหกรรมน้ำตาลไป อีกทั้งปัญหาทางด้านการตลาด ที่ในระยะสั้นโรงงานน้ำตาลจะแข่งขันกันทางด้านราคาและในระยะยาวนำไปสู่การผูกขาดสินค้า น้ำตาลได้หากอุตสาหกรรมน้ำตาลมีการบริหารจัดการที่ขาดเสถียรภาพทั้งทางด้านปริมาณและ ทางด้านราคา นอกจากนี้เมื่อพิจารณาผลกระทบเชิงปริมาณจากการจำลองสถานการณ์ภายใต้การเปิด เสรีทางการค้าให้สอดคล้องกับองค์การการค้าโลก (WT0) โดยลดอัตราภาษีเทียบเท่าให้เหลือศูนย์ พบว่า อุตสาหกรรมน้ำตาลของไทยมีการจัดสรรทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นโดยวัด สวัสดิการทางสังคมอยู่ในรูปตัวเงินเพิ่มขึ้น 9.80 ล้านดอลลาร์สหรัฐและผลิตภัณฑ์มวลรวม ภายในประเทศ (GDP) มีอัตราขยายตัวเพียงเล็กน้อยร้อยละ 0.0002 เท่านั้น เนื่องจากมีการนำเข้า น้ำตาลเพิ่มขึ้นร้อยละ 117.71 ในขณะที่การส่งออกน้ำตาลมีเพียงร้อยละ 0.05 ส่งผลให้ขาดดุลทาง การค้าถึง 37.70 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เมื่อพิจารณาอุตสาหกรรมน้ำตาลจากการเปิดเสรีทางการค้า พบว่า ราคาน้ำตาลภายในประเทศลดลงเพียงร้อยละ 0.01 เท่านั้น ในขณะที่ปริมาณน้ำตาลที่ผลิตได้ใน ประเทศก็ลดลงด้วยเช่นกันร้อยละ 1.06 ส่งผลให้ปริมาณน้ำตาลบริโภคภายในประเทศขาดแคลนถึง ร้อยละ 2.99 ดังนั้นไทยไม่ควรเปิดเสรีทางการค้าของสินค้าน้ำตาลเต็มรูปแบบ กล่าวคือ รัฐบาลควรมีการจัดการสำรองน้ำตาลให้เพียงพอต่อความต้องการบริโภค ภายในประเทศ อีกทั้งไม่ควรถคอัตราภาษีนำเข้าน้ำตาลเต็มรูปแบบเพื่อปกป้องอุตสาหกรรมน้ำตาล ภายในประเทศ และรัฐบาลควรสนับสนุนการพัฒนาการบริหารจัดการไร่อ้อยซึ่งเป็นอุตสาหกรรมต้น น้ำในการรักษาเสถียรภาพของอุตสาหกรรมน้ำตาลให้ดำเนินอยู่ต่อไปen_US
Appears in Collections:ECON: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
591631016 อมรรัตน์ อยู่โต.pdf4.1 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.