Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74231
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศรัญญา กันตะบุตร-
dc.contributor.authorพุทธรักษ์ พุทธวงษ์en_US
dc.date.accessioned2022-10-15T09:01:12Z-
dc.date.available2022-10-15T09:01:12Z-
dc.date.issued2564-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74231-
dc.description.abstractThis research aims to study the motivation for Thai tourists to travel in Chiang Mai National Park. The population is tourists in the Chiang Mai National Park. The sample group was calculated from Taro Yamane's table. The sample total population was 384 by Convenience Sampling. Questionnaires were applied as the tool for collecting data. Data were analyzed using descriptive statistics E.g. Frequency, Percentage, Average and Inferential statistics example t-test (Independent-Sample t-test) and One-Way ANOVA. Comparison of differences in the percentage level of incentives for tourism in Chiang Mai National Park consisted of Push and Pull factors, which were classified by gender and age range, and testing the difference in pairs using Scheffe's method. The results showed that most of the respondents were female, aged between 21 and 30 years old, with a bachelor's degree, private company employee, monthly income between 15,000 - 30,000 Baht, currently residing in Chiang Mai. Tourism behavior is active during the holidays with the purpose of relaxing on vacation and deciding to travel by themselves in winter for a one night camping. In terms of motivation, respondents place high priority on the Push factors. On the demand side, they found something new. The need to travel for social opportunities and focusing on moderate push factors, such as the need for pride received in tourism and learning about the culture, nationality, and livelihood. Pull factors that the respondents placed high emphasis on are resources, geography and location. Accommodation, facilities and travel cost of living are also considered in terms of history, culture, festivals and traditions related agencies. When classified by gender it was found that there were differences in some behaviors including patterns when staying overnight. The comparison of the difference in the percentage level of incentives for tourism in Chiang Mai National Park is at the significance level of 0.05 which found that there were differences in some sub-factors of the Push factors E.g. the need to travel social opportunities, the need on demand pride received in tourism, and differences in sub-factors of the Pull factors such as accommodation, facilities, transportation and cost of living Classified by age, there are differences in some behaviors E.g. Influencers in tourism decision making in Chiang Mai National Parks and the comparison results of the difference the percentage level of incentives for tourism in Chiang Mai National Park at the significance level of 0. 05, which was different in some sub-factors of the Pull factors such as history culture, festivals and traditions, accommodation, facilities and transportation, cost and living expenses and information about tourist attractions. But there is no difference in the main factors.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleแรงจูงใจของนักท่องเที่ยวชาวไทยในการท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติจังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeMotivation of Thai tourists towards visiting Chiang Mai National Parksen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashอุทยานแห่งชาติ -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashเชียงใหม่ -- ภูมิประเทศและการท่องเที่ยว-
thailis.controlvocab.thashนักท่องเที่ยว-
thailis.controlvocab.thashการจูงใจ (จิตวิทยา)-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา แรงจูงใจของนักท่องเที่ยวชาวไทยในการ ท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติจังหวัดเชียงใหม่ ประชากรคือนักท่องเที่ยวที่เดินทางมาท่องเที่ยวใน อุทยานแห่งชาติจังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มตัวอย่างคำนวณจาก การเปิดตารางของ ทาโร่ ยามาเน่ ได้กลุ่ม ตัวอย่างจำนวน 384 ราย เลือกตัวอย่างแบบตามสะดวก (Convenience Sampling) ใช้แบบสอบถาม เป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และใช้สถิติอนุมาน ได้แก่ t-test (Independent-Sample t-test) และ One-Way ANOVA โดย เปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยระดับความสำคัญของแรงจูงใจในการท่องเที่ยวอุทยาน แห่งชาติจังหวัดเชียงใหม่ประกอบด้วยปัจจัยผลักและปัจจัยดึงดูด จำแนกตามเพศและช่วงอายุ และ ทดสอบความแตกต่างรายคู่ด้วยวิธีการของเชฟเฟ่ (Scheffe) ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ เป็นเพศหญิง อายุระหว่าง 21 - 30 ปี จบ การศึกษาระดับปริญญาตรี มีอาชีพลูกจ้างหรือพนักงานบริษัทเอกชน มีรายได้ต่อเดือนระหว่าง 15,000 - 30,000 บาท มีที่พักอาศัยปัจจุบันอยู่ที่จังหวัดเชียงใหม่ และมีพฤติกรรมการท่องเที่ยว คือ เป็นนักท่องเที่ยวระหว่างวันหยุด โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพักผ่อนหย่อนใจในวันหยุด และตัดสินใจ ท่องเที่ยวด้วยตนเอง ออกเดินทางในช่วงฤดูหนาว พักที่ลานกางเต็นท์ จำนวน 1 คืน ในด้านแรงจูงใจ ผู้ตอบแบบสอบถาม ให้ความสำคัญต่อปัจจัยผลักระดับมาก ในด้านความ ต้องการตอบสนองทางด้านร่างกาย ด้านความต้องการ พบสิ่งใหม่ ด้านความต้องการเดินทางเพื่อ โอกาสในการเข้าสังคม และให้ความสำคัญต่อปัจจัยผลักระดับปานกลาง ในด้านความต้องการความ ภูมิใจที่ได้รับในการท่องเที่ยว และด้านความต้องการเพื่อจะศึกษาเรียนรู้วัฒนธรรม ชนชาติ การ ดำรงชีวิต ปัจจัยจึงดูดที่ผู้ตอบแบบสอบถามให้ความสำคัญในระดับมาก ได้แก่ ด้านทรัพยากร ภูมิ ประเทศและทำเลที่ตั้ง ด้านที่พักสิ่งอำนวยความสะดวกและการเดินทาง ด้านค่าครองชีพ ด้าน ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม เทศกาล และประเพณี ด้านหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เมื่อจำแนกตามเพศพบว่า มีความแตกต่างกันในบางพฤติกรรมได้แก่ รูปแบบเมื่อพักค้างคืน และผลการเปรียบเทียบความแตกต่างค่าเฉลี่ยระดับความสำคัญของแรงจูงใจในการท่องเที่ยว อุทยานแห่งชาติจังหวัดเชียงใหม่ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 พบว่า มีความแตกต่างกันในบางปัจจัยย่อย ของปัจจัยผลักได้แก่ ด้านความต้องการเดินทางเพื่อ โอกาสในการเข้าสังคม ด้านความต้องการความ ภูมิใจที่ได้รับในการท่องเที่ยว และมีความแตกต่างกันในบางปัจจัยช่อยของปัจจัยดึงดูดได้แก่ ด้านที่ พัก สิ่งอำนวยความสะดวกและการเดินทาง และด้านค่าใช้จ่ายและค่าครองชีพ เมื่อจำแนกตามอายุพบว่า มีความแตกต่างกันในบางพฤติกรรมได้แก่ ผู้มีอิทธิพลต่อการ ตัดสินใจในการท่องเที่ยวในอุทยานแห่งชาติจังหวัดเชียงใหม่ และผลการเปรียบเทียบความแตกต่าง ค่าเฉลี่ยระดับความสำคัญของแรงจูงใจในการท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติจังหวัดเชียงใหม่ที่ระดับ นัยสำคัญ 0.05 มีความแตกต่างกันในบางปัจจัยย่อยของปัจจัยดึงดูดได้แก่ ด้านประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมเทศกาล และประเพณี ด้านที่พัก สิ่งอำนวยความสะดวกและการเดินทาง ด้านค่าใช้จ่าย และค่าครองชีพ และด้านข้อมูลข่าวสารของสถานที่ท่องเที่ยว แต่ไม่มีความแตกต่างกันในปัจจัยผลักen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
591532265 พุทธรักษ์ พุทธวงษ์.pdf1.81 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.