Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74229
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนฤนาท ศราภัยวานิช-
dc.contributor.authorบรรจง อินทร์ประสิทธิ์en_US
dc.date.accessioned2022-10-15T08:57:31Z-
dc.date.available2022-10-15T08:57:31Z-
dc.date.issued2564-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74229-
dc.description.abstractThe current study aims to find out a delivery staff attitude of Sapparichat transport limited partnership towards occupational safety according to the Life Saving Rules. The data has been collected by a questionnaire from 112 delivery staff of Sapparichat transport. The data were analysed using descriptive statistics including frequency, percentage, and mean. Furthermore, a one-way ANOVA analysis was included in the study. The study showed that the majority of the participants were male aged between 31 to 40 years old, have been on the duty for more than five years, the delivery route was in the central region, type of employment was a Non-Smart Driver, graduated with a primary education level. The overview of the delivery persons' knowledge and understanding in regards to the occupational safety according to the Life Saving Rules showed an average level of knowledge from 61 participants with a mean of 54.5, follows by a high level of understanding from 36 participants with a mean of 32.1, then a moderate level of understanding from 14 samples with a mean of 12.5, and a low level of understanding from one participant with a mean of 0.9 respectively. In addition, no evidence had shown that the participants with the lowest knowledge and understanding, majority of the samples had least chosen item number four; be able to use a mobile phone without assistive devices for less than two minutes (69.6%), and item number six; permission is required before removing a device or security system (64.3%), respectively. Theattitude regarding feeling towards occupational safety according to the Life Saving Rules; the majority of the participants showed the highest level of agreement among 59 samples 52.8%, follows by the level of agreement among 47 respondents 41.8%, feeling indifferent from six participants 5.4%, and no evidence of no feeling of disagreeing and strongly disagree in which the participants feeling indifferent with the last three items from number four; compliance with procedures for preventing accidents, and from working at heights effecting working difficulty (x̄= 3.43), follows by item number 10 work permit requirement when operating with approval according to the type of job, in which can cause complication and delay in work (x̄= 3.37), item number six permission is required before removing or disconnecting devices which can cause discomfort and delay in work (x̄= 3.21), respectively. The behavioural attitude towards occupational safety according to the Life Saving Rules; the majority of the participants showed the most frequent behavioural level among 87 samples 77.7%, follows by the level of frequent practice behaviour from 25 participants 22.3%. Moreover, no evidence showed participants with a level of behaviour towards the level of practice frequently and infrequently; and the majority of the participants showed the behaviour level of not practice regularly; it can be seen from the last three items including item number five, permission required from safety officer when removing or disconnecting the devices (x̄=4.02), follows by item number four; during working with electricity; disconnected from the main electrical system, and using a key to lock system or hanging a warning sign are required (x̄=4.00), and item number seven; permission is required when working in a confined space (x̄=3.92), respectively. The examination of knowledge and understanding towards occupational safety according to the Life Saving Rules classified by general information found that knowledge and understanding promotion is needed in term of item number two; while driving or sitting at the back of a motorbike, the passenger is not required to wear a safety helmet among stafl with three to five years of working, item number four; while driving the driver is able to answer calls without assistive devices less than two minutes among male staff and Non-Smart Driver, item number six; permission required when remove or disconnect devices among male staff, and item number 11; during working with electricity; disconnected from the main electrical system, and using a key to lock system or hanging a warning sign are required among participants with a secondary school and a vocational diploma education level. The investigation of the feeling towards occupational safety according to the Life Saving Rules classified by general information showed that the majority of the participants strongly agreed with item number four; compliance with procedures for preventing accidents, and from working at heights effecting working difficulty; male staff showed the feeling of indifferent, on the other hand, female staff showed a strong agreement. In addition, the participants with five years working duration showed feeling more than the staff with working duration of three to five years, which was more than staff with working duration of one to three years. Furthermore, item number 10; work permit required when operating according to the type of job causing difficulty and delays in work; male samples showed the feeling of indifference, on the other hand, female participants were strongly agreed. The study of behaviour towards occupational safety according to the Life Saving Rules classified by general information found that the majority of the participants follows item number four; during working with electricity; disconnected from the main electrical system, and using a key to lock system or hanging a warning sign are required, female staff sometimes follow the regulation, and male staff often follow the rule. Finally, item number 12; operating without safety rules avoiding serious accidents and serious consequences; female samples frequently follow the rule and male staff always obey the regulation. Further research should focus on employees working motivation e.g. salary increase, work progress, or penalties and fines; as a direction to prevent employees' dissatisfaction, preserving valuable human resources, and motivate employees at work, to find the factors that employees are interested in; and use the information that has been developed to maintain quality personnel with the company in the long run.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleทัศนคติของพนักงานขนส่งสินค้าของห้างหุ้นส่วนจำกัด ทรัพย์ปาริชาติทรานสปอร์ตที่มีต่อการดำเนินงานด้านความปลอดภัยในการทำงาน ตามกฎพิทักษ์ชีวิตen_US
dc.title.alternativeAttitude of transportation employees at Sapparichat Transport Limited Partnership towards work safety management by life saving rulesen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashห้างหุ้นส่วนจำกัด ทรัพย์ปาริชาติทรานสปอร์ต -- พนักงาน-
thailis.controlvocab.thashพนักงานบริษัท -- ทัศนคติ-
thailis.controlvocab.thashความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม-
thailis.controlvocab.thashการขนส่งสินค้า-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทัศนคติของพนักงานขนส่งสินค้า ห้างหุ้นส่วนจำกัด ทรัพย์ปาริชาติทรานสปอร์ต ที่มีต่อการดำเนินงานด้านความปลอดภัยในการ ทำงาน ตามกฎพิทักษ์ชีวิตโดยเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ถามพนักงาน ห้างหุ้นส่วนจำกัด ทรัพย์ปาริชาติทรานสปอร์ต จำนวน 112 ราย และ ได้ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ และค่าเฉลี่ย และวิเคราะห์ ANOVA มาประกอบในการอภิปราย จากการศึกษาพบว่าข้อมูลของผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุ ระหว่าง 31-40ปี มีอายุการปฏิบัติงานที่ตั้งแต่ ปีขึ้นไป เส้นทางขนส่งสินค้า ภาคกลาง ประเภทพนักงานเป็น Non-Smart Driver และมีระดับการศึกษาในระดับ ประถมศึกษา ทัศนคติค้านความรู้ความเข้าใจต่อการดำเนินงานด้านความปลอดภัยในการทำงาน ตามกฎ พิทักษ์ชีวิต ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีระดับความรู้ความเข้าใจมากที่สุด จำนวน 61 คน คิดเป็น ร้อยละ 54.5 รองลงมามีระดับความรู้ความเข้าใจมาก จำนวน 36 คน คิดเป็นร้อยละ 32.1 มีระดับ ความรู้ความเข้าใจปานกลาง จำนวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 12.5 มีระดับความรู้ความเข้าใจ น้อย จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 0.9 ตามลำดับ และไม่มีคนที่มีระดับความรู้ความเข้าใจน้อยที่สุด โดย พนักงานส่วนใหญ่ตอบถูกน้อยที่ ในข้อที่ 4 ในขณะขับรถสามารถรับโทรศัพท์โดยไม่ใช้อุปกรณ์ ช่วยไม่เกิน 2 นาที(ร้อยละ 69.6)และข้อที่ 6 ก่อนถอดหรือปลดอุปกรณ์หรือระบบความปลอดภัย ออกต้องได้รับอนุญาต(ร้อยละ 64.3) ตามลำดับ ทัศนคติด้านความรู้สึกต่อการดำเนินงานด้านความปลอดภัยในการทำงาน ตาม กฎพิทักษ์ชีวิต ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีระดับความรู้สึกเห็นด้วยอย่างยิ่งมากที่สุด จำนวน 59 คน คิดเป็นร้อยละ 52.8 รองลงมามีระดับความรู้สึกเห็นด้วย จำนวน 47 คน คิดเปีนร้อยละ 41.8 มี ระดับความรู้สึกระดับ เฉย ๆ จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 5.4 ตามลำดับ และไม่มีคนที่มีระดับ ความรู้สึก ไม่เห็นด้วย และไม่เห็นด้วยอย่างยิ่งโดยพนักงานส่วนใหญ่รู้สึกเฉย ๆ 3ลำดับสุดท้าย ใน ข้อ4.การปฏิบัติตามขั้นตอนการป้องกันการเกิดอุบัติเหตุจาก ปฏิบัติงานบนที่สูง ทำให้เกิดความ ยุ่งยากในการทำงาน(x̄= 3.43) รองลงมาคือ ข้อ10.การ ปฏิบัติงานด้านต่างๆ จะต้องขอใบอนุญาต ทำงาน (Work permit) ที่ได้รับอนุมัติตามลักษณะงานที่กำหนด เป็นเรื่องยุ่งยากและทำให้เกิดความ ล่าช้าในการทำงาน (x̄ = 3.37 ข้อ6.เมื่อต้องได้รับอนุญาตก่อนถอดหรือปลดอุปกรณ์หรือ ระบบ ความปลอดภัยออกทุกครั้งทำให้รู้สึกอึดอัดและทำงานได้ล่าช้า (x̄- 3.21) ตามลำคับ ทัศนคติด้านความพฤติกรรมการดำเนินงานด้านความปลอดภัยในการทำงาน ตามกฎ พิทักษ์ชีวิต ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีระดับพฤติกรรมปฏิบัติบ่อยครั้งมากที่สุด จำนวน 87 คน คิดเป็นร้อยละ 77.7 รองลงมามีระดับพฤติกรรมปฏิบัติบ่อยกรั้ง จำนวน 25 คน คิดเป็นร้อยละ 22.3 ตามลำดับ และไม่มีคนที่มีระดับพฤติกรรมในระดับ ปฏิบัติบางครั้ง ระดับปฏิบัตินาน ๆ ครั้ง และ ระดับไม่เคยปฏิบัติ โดยพนักงานส่วนใหญ่ปฏิบัติบ่อยครั้ง เป็น 3ลำดับสุดท้าย คือข้อร.ก่อนถอด หรือปลดอุปกรณ์ หรือระบบความปลอดภัยออกต้องได้รับอนุญาตจาก เจ้าหน้าที่ ความปลอดภัย (x̄-4.02) ข้อ4.ในขณะที่ทำงานเกี่ยวข้องกับ ไฟฟ้ต้องตัดแยกระบบไฟฟ้และพลังงาน โดยการใช้ ระบบล็อคกุญแจและแขวนป้ายเดือน (x̄ -4.00) ข้อา.เมื่อต้องปฏิบัติงานในสถานที่ อับอากาศต้อง ได้รับ อนุญาต ก่อนเข้าทำงานใน สถานที่อับอากาศ (Confine Space) (x̄=3.92) ตามลำดับ ในการศึกษาความรู้ความเข้าใจการดำเนินงานด้านความปลอดภัยในการทำงาน ตามกฎ พิทักษ์ชีวิตของพนักงาน จำแนกตามข้อมูลทั่วไปพบว่า จะต้องมีการส่งเสริมความรู้ความเข้าใจใน ข้อ2.ในขณะขับขี่ หรือนั่งซ้อนท้ารถจักรยานยนส์ คนซ้อนไม่จำเป็นสวมหมวกนิรภัยในกลุ่มอายุ งาน 3-5 ปี ข้อ 4 ในขณะขับรถสามารถรับโทรศัพท์โดยไม่ใช้อุปกรณ์ช่วยไม่เกิน 2 นาที ในกลุ่มเพศ ชาย และ Non-Smart Driver ข้อที่ 6 ก่อนถอดหรือปลดอุปกรณ์หรือระบบความปลอดภัยออกต้อง ได้รับอนุญาต ในกลุ่มเพศชาย ข้อที่ 11.ในขณะที่ทำงานเกี่ยวข้องกับไฟฟ้าต้องตัดแยกระบบไฟฟ้า และพลังงาน โดยการใช้ระบบล็อคกุญแจและแขวนป้ายเดือนทุกครั้ง ในกลุ่มระดับการศึกษามัธยม ปลาย/ปวช. ในการศึกษาความรู้สึกการดำเนินงานด้านความปลอดภัยในการทำงาน ตามกฎพิทักษ์ชีวิต ของพนักงาน จำแนกตามข้อมูลทั่วไปพบว่า พนักงานส่วนใหญ่มีความรู้สึกเห็นด้วยอย่างยิ่ง ในข้อ4. การปฏิบัติตามขั้นตอนการป้องกันการเกิดอุบัติเหตุจากการ ปฏิบัติงานบนที่สูง ทำให้เกิดความ ยุ่งยากในการทำงานเพศชาย รู้สึกเฉย ๆ เพสหญิง เห็นด้วยอย่างยิ่ง พนักงานที่มีอายุปฏิบัติงาน5ปี มี ระดับความรู้สึกมากกว่าพนักงานที่มีอายุปฏิบัติงาน 3-5ปี และมากกว่าพนักงานที่มีอายุปฏิบัติงาน 1-3ปี ตามลำดับและข้อ 10.การปฏิบัติงานด้านต่างๆ จะต้องขอใบอนุญาตทำงาน (Work permit) ที่ ได้รับอนุมัติตามลักษณะงานที่กำหนด เป็นเรื่องยุ่งยากและทำให้เกิดความล่าช้ำในการทำงานเพศ ชาย รู้สึกเฉยๆและ เพศหญิงเห็นด้วย ในการศึกษาพฤติกรรมการดำเนินงานด้านความปลอดภัยในการทำงาน ตามกฎพิทักษ์ ชีวิตของพนักงาน จำแนกตามข้อมูลทั่วไปพบว่า พนักงานส่วนใหญ่มีระดับพฤติกรรม ทุกครั้ง ใน ข้อที่4.ในขณะที่ทำงานเกี่ยวข้องกับ ไฟฟ้าต้องตัดแยกระบบไฟฟ้าและพลังงานโดยการใช้ระบบ ล็อคกุญแจและแขวนป้ายเตือน เพศหญิงปฏิบัติบางครั้ง น้อยกว่าเพศชายปฏิบัติบ่อยครั้ง ข้อ12.การ ปฏิบัติงานที่ละเลยกฎความปลอดภัยเพียงเล็กน้อย จะไม่ทำให้เกิด อุบัติเหตุที่ร้ายแรงและไม่ส่งผล เสียที่ ร้ายแรง เพศหญิง ปฏิบัติบ่อยครั้ง น้อยกว่า เพศชายปฏิบัติทุกครั้ง ในการศึกษาครั้งต่อไปควรศึกษาแรงจูงใจในการทำงานของพนักงาน อาทิเช่นการ เพิ่มขึ้นของรายได้ ความก้าวหน้าในการทำงาน หรือ การออกบทลงโทษและบทปรับ เพื่อเป็น แนวทางในการป้องกันไม่ให้พนักงานเกิดความไม่พึงพอใจ เป็นการรักษาทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่า และเป็นการสร้างแรงจูงใจเพื่อให้พนักงานมีแรงกระตุ้นในการทำงาน เพื่อหาปัจจัยที่พนักงานสนใจ และนำข้อมูลที่ได้มาพัฒนาเพื่อใช้รักษาบุคลากรที่มีคุณภาพไว้กับบริษัทในระยะยาวen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
591532084 บรรจง อินทร์ประสิทธิ์.pdf3.83 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.