Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74221
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อัมพร จิรัฐติกร | - |
dc.contributor.advisor | ประสิทธิ์ ลีปรีชา | - |
dc.contributor.author | วิศรุต แสนคำ | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-10-15T08:16:34Z | - |
dc.date.available | 2022-10-15T08:16:34Z | - |
dc.date.issued | 2564-07 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74221 | - |
dc.description.abstract | This thesis aims to study the identity that being construct as a way to negotiate with the Thai state from the Wa immigrants in northern Thailand. This study employed multi-sited ethnographic study methods that cover three provinces including Chiang Mai, Chiang Rai, and Maehongson, and through the non-physical space like the study also looks at the network of Wa immigrants that was established as an ethnic association entitles "'the Lawa association in Thailand". This research applies three concepts including "Ethnic Identity in constructivist paradigm", "Becoming" and "'Social and Cultural Capital". There are three questions that this research addresses including 1) How do the Wa immigrant in Thailand construct new identity to tackle their stigmatized identity? 2) How the Wa utilized social and cultural capital in the process of identity construction? 3) How the connection between the Wa immigrant to Thailand's indigenous Lua has transformed the meaning of stigmatized Wa in Thailand? The Wa immigrants who now living in Thailand could be divided into two groups including 1) the Wa immigrant that came to Thailand during the cold war period (the 1950s - 1980s) and helps the Thai state suppress and prevent communist in Thailand. This group I would call "the first group" 2) the Wa immigrants who came to Thailand after 1999 when the "the southern Wa state" was established which create new Wa controlled territory located between Thailand and Myanmar border. This new territory became the important factor that led to new Wa immigrants moving to Thailand and also create "Wa Deng" which is the stigmatized identity that perceived the Wa as a drug manufacturer, therefore seen by the Thai state and media as a national security threat. This group I termed "the second group" Around 1999 when the Wa identity was perceived as a threat to Thailand's national security, the Wa immigrant especially the first group started to effect from stigmatized identity and respond by creating the whole new identity called "Lawa". In the process of creating a new identity which could be seen as de-territorialized and re-territorialized stigmatized Wa identity has created new social and cultural capital for the Wa immigrant who now lives in Thailand to be able to align themselves with Thailand imagined community. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การกลายเป็นละว้าของชาวว้าอพยพในภาคเหนือของประเทศไทย | en_US |
dc.title.alternative | Becoming Lawa of the Wa immigrants in Northern Thailand | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | ละว้า | - |
thailis.controlvocab.thash | ชาติพันธุ์วิทยา -- ไทย | - |
thailis.controlvocab.thash | ลัวะ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ศึกษาการสร้างอัตลักษณ์ใหม่ของชาวว้าอพยพจากประเทศเมียนมาที่อาศัย อยู่ในภาคเหนือของประเทศไทย โดยในงานศึกษานี้ใช้วิธีการศึกษาเชิงชาติพันธุ์วรรณาแบบพหุสนาม (multi-sited ethnography) ที่มีพื้นที่อยู่ใน 3 จังหวัดประกอบไปด้วย จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดเชียงราย และจังหวัดแม่ฮ่องสอน และศึกษาผ่านเครือข่ายของชาวว้าอพยพที่ได้รวมตัวกันจัดตั้งสมาคมที่ใช้ชื่อ ว่า "สมาคมลัวะแห่งประเทศไทย" โดยในงานศึกษานี้ได้นำเอาแนวคิดชาติพันธุ์ในฐานะสิ่งประกอบ สร้าง (Constructivist Paradigm) การกลายเป็น (Becoming) และแนวคิดทุนทางสังคมและทุนทาง วัฒนธรรมมาใช้เป็นเครื่องมือในการอภิปราย งานศึกษานี้ตั้งคำถามที่สำคัญ 3 ประกอบไปด้วย 1) ชาว ว้าที่อาศัยอยู่ในประเทศไทยมีกระบวนการสร้างอัตลักษณ์ใหม่เพื่อตอบโต้ภาพตัวแทนที่ถูกตีตรา อย่างไร 2) ในการสร้างอัตลักษณ์ใหม่ของชาวว้าได้สร้างทุนทางสังคมและทุนทางวัฒนธรรมใหม่ ให้กับชาวว้าที่ถูกตีตราในไทยอย่างไร 3) การเชื่อมโยงระหว่างกลุ่มชาติพันธุ์ว้าที่อพยพมาจากประเทศ เมียนมาและกลุ่มชาติพันธุ์ลัวะในประเทศไทยได้สร้างหรือเปลี่ยนแปลงนิยามความหมายของกลุ่มชาติ พันธุ์ว้าอย่างไร ปัจจุบันกลุ่มชาติพันธุ์ว้าที่อาศัยอยู่ในประเทศไทยสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ ๆ จาก ช่วงเวลาที่ข้ามแดนเข้ามา กลุ่มแรกคือกลุ่มที่เข้ามาในประเทศไทยผ่านเครือข่ายทหารชาติพันธุ์ที่เข้า มาเพื่อป้องกันและปราบปรามการเคลื่อนไหวของพรรคคอมมิวนิสต์ในช่วงสงครามเย็น และกลุ่มหลัง คือกลุ่มที่เข้ามาหลังการเกิดขึ้นของรัฐว้าทางใต้หรือพื้นที่ใหม่ที่กลุ่มชาติพันธุ์ว้าปกครองใน ปีพ.ศ. 2542 การเกิดขึ้นของพื้นที่รัฐว้าทางใต้นี้เองที่ได้กลายเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้มีการอพยพของ ชาวว้าเข้ามาในประเทศไทยมากขึ้น อีกทั้งขังได้เกิดภาพตัวแทนใหม่ของกลุ่มชาติพันธุ์ว้าภายใต้คำ เรียกว่า "ว้าแดง" ที่ถูกมองจากรัฐและสื่อไทยว่าเป็นสาเหตุสำกัญของยาเสพติดหลายล้านเม็ดที่ แพร่กระจายอยู่ในประเทศไทย กลุ่มชาติพันธุ์ว้าจึงถูกมองว่าเกี่ยวข้องกับยาเสพติดและเป็นภัยต่อ ความมั่นคงของรัฐชาติไทย เมื่อภาพลักษณ์ของกลุ่มชาติพันธุ์ว้าถูกมองว่าเป็นภัยต่อความมั่นคงทำให้เกิดการเคลื่อนไหว ที่นำโดยกลุ่มชาติพันธุ์ว้าในระลอกแรกที่เริ่มสร้างความเป็นกลุ่มก้อนเดียวกันของชาวว้าที่อยู่กันอย่าง กระจัดกระจายในบริเวณภาคเหนือของประเทศไทย และสร้างอัตลักษณ์ใหม่ของกลุ่มชาติพันธุ์ว้าใน ประเทศไทยภายใต้การไปนับญาติทางชาติพันธุ์กับกลุ่มชาติพันธุ์ลัวะ และได้หยิบใช้คำเรียก "ะว้า" และ "ลัวะ" มาใช้เรียกแทนคำว่า "ว้า" ดังนั้นการสร้างอัตลักษณ์ใหม่ทางชาติพันธุ์ของชาวว้าใน ประเทศไทยกำลังทำหน้าที่สลายเส้นเขตแดน (re-territorialized) ของความหมายเดิมของกลุ่มชาติ พันธุ์ว้าที่มีอยู่ในสังคมไทย และ สร้างเส้นเขตแคนใหม่ (re-territorialized) ที่เป็นการสร้างความหมาย ใหม่ให้กับกลุ่มชาติพันธุ์ว้าในประเทศไทยอันเป็นกระบวนการที่ยังไม่ได้จบลงและอยู่ในสถานะการ กลายเป็นละว้าอยู่สมอ และ "ละว้า" ในฐานะคำเรียกทางชาติพันธุ์ใหม่ของชาวว้าอพยพในภากเหนือ ของประเทศไทยยังได้กลายเป็นทุนทางสังคมและทุนทางวัฒนธรรมที่สำคัญที่ช่วยให้กลุ่มชาติพันธุ์ว้า ปรับตัวเข้ากับสังคมไทย | en_US |
Appears in Collections: | SOC: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
590431031 วิศรุต แสนคำ.pdf | 6.29 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.