Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74180
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorWarat Leelapornpisid-
dc.contributor.authorWirada Wanicharaten_US
dc.date.accessioned2022-10-04T10:07:57Z-
dc.date.available2022-10-04T10:07:57Z-
dc.date.issued2022-07-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74180-
dc.description.abstractObject: To determine the antimicrobial activity of B. macrophylla kernel extract in eradication of the multispecies biofilm of E. faecalis, S. gordonii and C. albicans in in vitro and in ex vivo tooth model. Methods: Firstly, antimicrobial effect of B. macrophylla kernel extract to multispecies biofilm of E. faecalis, S. gordonii and C. albicans was determined by AlamarBlueTM assay and The LIVE/DEAD® BacLightTM viability test. Then, multispecies biofilm of E. faecalis, S. gordonii and C. albicans (1:1:1) were inoculated in tooth model for 21 days and the teeth were randomly divided into 4 medicament groups: (i) normal saline, (ii) calcium hydroxide (Ca(OH)2), (iii) chlorhexidine gel, (iv) B. macrophylla kernel extract. The teeth were medicated for 7 days, then dentin sample were harvested and the efficacy of medicament was determined by qPCR with PMA for quantify composition of E. faecalis, S. gordonii and C. albicans. Scanning electron microscope (SEM) was used to visualize the effect of medicament on biofilm structure. Results: The in vitro assay revealed that the MBIC was 6.25 mg/mL and the MBEC was 50 mg/mL. The integrity of microbial cells was progressively compromised as concentration increased, resulting in greater cell death. Ex vivo tooth model revealed that biofilm treated with 50 mg/mL of the B. macrophylla extract demonstrated a significantly higher proportions of dead cells than in Ca(OH)2 , chlorhexidine and normal saline groups (p<0.01). Further, disruption of biofilm structure and enlargement of dentinal tubules was observed in B. macrophylla group on SEM.en_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titlePotential of Bouea macrophylla Kernel Extract Against Multispecies Bacterial-fungal Biofilmen_US
dc.title.alternativeศักยภาพของสารสกัดจากเมล็ดมะปรางในการกำจัดแผ่นชีวภาพผสมระหว่างเชื้อแบคทีเรียและเชื้อราen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshFungi-
thailis.controlvocab.lcshBacteria-
thailis.controlvocab.lcshDentistry-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวัตถุประสงค์: เพื่อทดสอบประสิทธิภาพของสารสกัดเมล็ดมะปรางในการกำจัดเชื้อ Enterococcus faecalis Streptococcus gordonii และ Candida albicans ที่อยู่ในรูปแบบแผ่นชีวภาพ วัสดุและวิธีการ: ทำการศึกษาประสิทธิภาพการฆ่าเชื้อของสารสกัดเมล็ดมะปรางต่อแผ่นชีว-ภาพผสมระหว่าง E. faecalis S. gordonii และ C. albicans ในห้องปฏิบัติการโดยใช้วิธี AlamarBlueTM จากนั้นทำการทดลองโดยใช้สารสกัดเมล็ดมะปรางในชิ้นรากฟันที่เตรียมจากฟันกรามน้อยล่างที่เพาะ เลี้ยงแผ่นชีวภาพระหว่าง E. faecalis S. gordonii และ C. albicans เป็นเวลา 21 วัน โดยแบ่งออกเป็น 4 กลุ่มคือ กลุ่มที่ 1 คือกลุ่มที่ทดสอบด้วยน้ำเกลือ กลุ่มที่ 2 คือกลุ่มที่ทดสอบด้วยแคลเซียมไฮดรอกไซด์ (UltraCalTM) กลุ่มที่ 3 คือกลุ่มที่ทดสอบด้วยคลอเซกซิดีนเจล และกลุ่มที่ 4 คือกลุ่มที่ทดสอบด้วยสารสกัดเมล็ดมะปราง โดยยาจะถูกใส่เป็นเวลา 7 วัน จากนั้นผงฟันจะถูกเก็บ และทำการทดสอบประสิทธิภาพการฆ่าเชื้อทั้งสามชนิดในรูปแบบแผ่นชีวภาพ ด้วยวิธีปฏิกิริยาลูกโซ่พอลิเมอเรสแบบเรียลไทม์ (quantitative polymerase chain reaction; qPCR) ร่วมกับการใช้สารโพพิเดียม โมโนเอไซด์ (Propidium monoazide; PMA) เพื่อวิเคราะห์แยกแยะปริมาณเชื้อที่หลงเหลืออยู่ ผลการศึกษา: สารสกัดเมล็ดมะปรางให้ผลค่าความเข้มข้นต่ำสุดในการยับยั้งการเจริญของแผ่นชีวภาพที่ร้อยละ 50 ที่ความเข้มข้น 6.25 มก/มล และค่าความเข้มข้นต่ำสุดที่ฆ่าแผ่นชีวภาพที่ความเข้มข้น 50 มก/มล และเมื่อทำการทดสอบในชิ้นรากฟันที่บรรจุแผ่นชีวภาพอายุ 21 วันนั้น สารสกัดเมล็ดมะปรางความเข้มข้น 50 มก/มล มีประสิทธิภาพในการกำจัดเชื้อ E. faecalis S. gordonii และ C. albicans อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มคลอเฮกซิดีนเจล และแคลเซียมไฮดรอกไซด์ (p<0.01) สรุปผลการศึกษา: สารสกัดเมล็ดมะปรางมีประสิทธิภาพในการกำจัดเชื้อ E. faecalis, S. gordonii และ C. albicans ที่อยู่ในรูปแบบแผ่นชีวภาพen_US
Appears in Collections:DENT: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620931036 Wirada Wanicharat.pdf14.22 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.