Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74178
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorPadchanee Sangthong-
dc.contributor.advisorPitchaya Mungkornasawakul-
dc.contributor.authorPreeyaporn Klinjanen_US
dc.date.accessioned2022-10-03T10:30:44Z-
dc.date.available2022-10-03T10:30:44Z-
dc.date.issued2021-07-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74178-
dc.description.abstractThis research aims to evaluate the anti-herpes simplex virus type-1 (anti-HSV-1) activity of K. parviflora extracts using an in vitro model. The plant extracts were prepared from dried rhizome using different extraction solvents such as methanol, ethanol, acetone, ethyl acetate, dichloromethane and hexane. For phylogenetic identification of K. parviflora, two non-coding regions in chloroplast DNA, including trnL intron and trnL-F intergenic spacer (IGS) were evaluated by polymerase chain reaction and direct nucleotide sequencing. The results showed that PCR products of approximately 600 and 400 bp in trnL intron and trnL-F IGS were observed, respectively. The nucleotide sequence analysis of K. parviflora showed 99.82% and 99.45% homology with reference sequences of K. parviflora in GenBank database in trnL intron and trnL-F IGS, respectively. Furthermore, K. parviflora CMU01 showed 98.98% and 98.72% homology with Curcuma longa in trnL intron and trnL-F IGS, respectively. For total polyphenol and flavonoid contents of K. parvifora extracts, the hexane extract had the highest amount of total polyphenol contents (153.39 : 13. 14 ug GAE/g extract). The methanolic extract was the highest amount of total flavonoid contents (176.81 士 4.22 ug QE/g extract). For the cytotoxicity of K. parviflora extracts on normal mouse fibroblast cell lines (L929) and African green monkey kidney cell line (Vero cells), the methanolic extract showed the lowest cytotoxic on L929 cell lines with a CCso value of 25.27 + 2.54 ug/mL. In addition, the hexane extract showed the lowest cytotoxic on Vero cells with a CCso value of 41.77 = 5.62 ug/mL. For the anti-HSV-1 of K. parviflora extract, the results revealed that the ethanolic extract had the highest percentage of inhibition of 52.57% after 72 h of treatment at the concentration of 6.0 pg/mL when compared with other solvents extraction, the ECso values and TI values of ethanolic extract were 4.49 + 1.00 and 6.59, respectively. The results showed that the highly polar solvent extracts include the ethanolic extract showed potent anti-HSV-1 activity. It could be the most anti-HSV-1 active compounds were extracted in polar solvents, such as flavonoid compounds. The results were corresponded with the total flavonoid contents of ethanolic extract, which the total flavonoid contents of ethanolic extract were higher than non-polar solvent extracts. The mechanism of function of K. parviflora extract on anti-HSV activity could be interfered with the HSV-1 protein expression. In addition, the ECso value and TI value of acyclovir were 0.11 t 0.02 ug/mL and 1103.00, respectively. These results indicated that acyclovir had low cytotoxic on Vero cells and highly inhibit HSV-1 replication.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleAnti-herpes Simplex Virus Type 1 Activity of Kaempferia parviflora Extracten_US
dc.title.alternativeฤทธิ์การต้านเชื้อไวรัสก่อโรคเริมชนิดที่ 1 ของสารสกัดจากกระชายดำen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshAntiviral agents-
thailis.controlvocab.lcshHerpes simplex-
thailis.controlvocab.lcshHerpes simplex virus-
thailis.controlvocab.thashChemistry-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractในงานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาฤทธิ์การต้านเชื้อไวรัสก่อโรคเริมชนิดที่ 1 ของสารสกัดจาก กระชายดำในแบบจำลองในหลอดทดลอง เตรียมสารสกัดหยาบกระชายดำจากเหง้าแห้งด้วย ตัวทำละลายต่าง ๆ อาทิ เมทานอล เอทานอล อะซิโตน เอหิลอะซิเตท ไดคลอโรมีเทน และเฮกเซน ในการยืนยันสายพันธุ์ทางพันธุกรรมของกระชายดำโดยวิเคราะห์ลำดับนิวคดีโอไทค์บริเวณ trnL intron และ trnL-F intergenic spacer (IGS) ในคลอโรพลาสต์ดีเอ็นเอ หลังจากเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอด้วยเทคนิคปฏิกิริยาลูกโซ่พอลิเมอเรส พบว่าผลิตภัณฑ์พีซีอาร์ในบริเวณ trnL intron และ trmL-F IGS มีขนาดประมาณ 600 และ 400 คู่เบส ตามลำดับ กรวิเคราะห์ลำดับนิวคสีโอไทด์ของกระชายดำ CMU01 มีความคล้ายคลึงกับลำดับนิวคสิโอไทค์อ้งอิงของกระชายดำในฐานข้อมูล GenBank ร้อยละ 99.82 และ 99.45 ในบริเวณ IrnL intron และ trnL-F IGS ตามลำดับ นอกจากนี้กระชายดำ CMUOI มีลำดับนิวคสิโอไทด์คล้ายคลึงกับขมิ้นชันร้อยละ 98.98 และ 98.72 ในบริเวณ IrnL intron และ trnL-F IGS ตามลำดับ สำหรับการหาปริมาณ โพลิฟีนอลและฟลาโวนอยด์ทั้งหมดของสารสกัดจากกระชาย ดำ พบว่าสารสกัดหยาบเฮกเซนมีปริมาณ โพลิฟีนอลสูงสุด เท่ากับ 153.39 + 13.14 ไมโครกรัมสมมูล ของกรดแกลลิกต่อกรัมสารสกัด และสารสกัดหยาบเมทานอลมีปริมาณฟลาโวนอยค์สูงสุด เท่ากับ 176.81 +4.22 ไมโครกรัมสมมูลของเคอร์ซิดินต่อกรัมสารสกัด จากการศึกษาความเป็นพิษของสาร สกัดกระชาชคำต่อเซลล์ปกติไฟโบรบลาสต์ผิวหนังของหนูชนิด L929 และเซลล์ไลน์ไตของลิง (Vero cells) พบว่าสารสกัดหยาบเมทานอลมีความเป็นพิษต่อเซลล์ปกติไฟโบรบลาสต์ผิวหนังของหนู ชนิด L929 ต่ำ มีค่า CC50 เท่ากับ 25.27 +2.54 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร และสารสกัดหยาบเฮกเซน มีความเป็นพิษต่อเซลล์ไลน์ไตของลิงต่ำที่สุด มีค่า CC50 เท่ากับ 41.77 + 5.62 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร จากการศึกษาฤทธิ์การต้านเชื้อไวรัสจากก่อโรคเริมชนิดที่ 1 ของสารสกัดกระชายดำ จากผลการ ทคลองพบว่าสารสกัดหยาบเอทานอลมีฤทธิ์ในการขับยั้งการก่อโรคเริมชนิดที่ 1 สูงสุดร้อยละ 52 เมื่อเปรียบเทียบกับสารสกัดอื่นหลังจากบ่มเป็นระยะเวลา 72 ชั่วโมงที่ความเข้มข้น 6.0 ไมโครกรัมต่อ มิลลิลิตร ซึ่งมีค่า EC50 และค่าคัชนีในการรักษา (Therapcutic index; TI) เท่ากับ 4.49 + 1.00 ไมโครกรัม ต่อมิลลิลิตร และ 6.59 ตามลำดับ พบว่าสารสกัดกระชายดำจากตัวทำละลายที่มีขั้วสูงซึ่งประกอบไป ด้วยสารสกัดเอทานอลมีประสิทธิภาพในการต้านไวรัสก่อโรคเริมชนิดที่ 1 อาจเป็นไปได้ว่าสารต้าน ไรรัสก่อโรคเริมส่วนมากละลายในตัวทำละลายที่มีขั้ว อาทิ สารประกอบฟลาโวนอยค์ ผลการทดลอง มีความสอดคล้องกับการหาปริมาณรวมฟลาโวนอยด์ของสารสกัดเอทานอล ซึ่งปริมาณฟลาโวนอยด์ รวมของสารสกัดเอทานอลสูงกว่าสารสกัดจากตัวละลายที่ไม่มีขั้ว โดยกลไกในการต้านเชื้อไวรัสก่อ โรคเริมชนิดที่ 1 ของสารสกัดจากกระชายดำ อาจเป็นไปได้ว่ารบกวนการแสดงออกของโปรตีนของ เชื้อไวรัสก่อโรคเริมชนิดที่ 1 นอกจากนี้ค่ EC50และค่าดัชนีในการรักษาของยาต้านไวรัสก่อโรค เริมอะไซโคลเวียร์ (acyclovir) เท่ากับ 0.11 + 0.02 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร และ 1103.00 ตามลำดับ ผลการทดลองบ่งชี้ว่ายาอะไซ โคลเวียร์มีความเป็นพิษต่ำต่อเซลล์ไลน์ไตของลิงและสามารถยับยั้งการ เพิ่มจำนวนของไวรัสก่อโรคเริมสูงen_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610531066 ปรียาภรณ์ กลิ่นจันทร์.pdf5.67 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.