Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74163
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนฤมล กิมภากรณ์-
dc.contributor.authorปราโมช ชนะชัยวิรดาen_US
dc.contributor.editorปิยะพรรณ กลั่นกลิ่น-
dc.contributor.editorจิราภา พึ่งบางกรวย-
dc.date.accessioned2022-10-01T03:38:02Z-
dc.date.available2022-10-01T03:38:02Z-
dc.date.issued2022-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74163-
dc.description.abstractThe purpose of this independent study was to study the perceived value of the OTOP brand in Chiang Mai and Lamphun provinces from the perspective of LGBTQ+ Generation Y customers in Thailand and to study the composition of the impact of perceived value on OTOP products from LGBTQ+ Generation Y customers in Thailand among the perceptions different by age, income level, and average cost per purchase. This study is an exploratory research that seeks to explore the components of perceived value by LGBTQ+ Generation Y customers in Thailand. The 400 target group of this independent study are Thai people who know and used to buy OTOP products for personal consumption from 4 types of OTOP products in Chiang Mai and Luphun in the categories of textiles, processed foods, agricultural products, and handicrafts such as Yok-Dok Silk, Northern Thai Sausage, Bee Honey, Wua Lai silverware by using a questionnaire with 400 samples. The data was analyzed using descriptive statistics, inferential statistics and multiple regression. The results of this independent study showed that most of the respondents were LGBTQ+ Generation Y age ranged from 24–32 years, single, have a bachelor's degree, own business, average monthly income of 15,000–35,000 THB, influenced in purchasing decisions by self-determination, usually buy during weekdays, purchase frequency once a year, and a time to buy near the holiday season. There are resources that allow you to base purchasing decisions on what friends recommend. The factors that make a final decision to buy products are the quality of products. The factors that make a final decision to buy products are the quality of those products. The factor of the perceived value in monetary value, behavioral intentions, and reputation value that affects the willingness to introduce other people and the reputation that affects the willingness to repurchase again in the future.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleคุณค่าตามการรับรู้ของลูกค้ากลุ่มคนหลากหลายทางเพศเจเนอเรชันวาย ต่อผลิตภัณฑ์โอทอปในจังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดลำพูนen_US
dc.title.alternativePerceived value of LGBTQ+ generation Y customer’s towards OTOP products in Chiang Mai and Lamphun Provincesen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashโครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashโครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ -- ลำพูน-
thailis.controlvocab.thashชนกลุ่มน้อยทางเพศ -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashชนกลุ่มน้อยทางเพศ -- ลำพูน-
thailis.controlvocab.thashเจนเนอเรชันวาย-
thailis.controlvocab.thashพฤติกรรมผู้บริโภค-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการรับรู้คุณค่าของตราผลิตภัณฑ์โอทอป ในจังหวัดเชียงใหม่ และจังหวัดลำพูน จากมุมมองของลูกค้าเจเนอเรชันวายในประเทศไทย ที่เป็นกลุ่มคนหลากหลายทางเพศ และเพื่อศึกษาองค์ประกอบของคุณค่าของตราผลิตภัณฑ์โอทอป ในจังหวัดเชียงใหม่ และจังหวัดลำพูน ที่ลูกค้าเจเนอเรชันวายในประเทศไทย ที่เป็นกลุ่มคนหลากหลายทางเพศ รับรู้แตกต่างตามช่วงอายุ ระดับรายได้ ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อครั้งในการซื้อ ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นวิจัยเชิงสำรวจที่ต้องการศึกษาองค์ประกอบของคุณค่าที่ลูกค้ารับรู้ กลุ่มตัวอย่างเจเนอเรชันวาย (Generation Y) ชาวไทย ที่รู้จักและเคยซื้อผลิตภัณฑ์โอทอปในจังหวัดเชียงใหม่ และจังหวัดลำพูน เพื่อบริโภคส่วนบุคคล ทั้ง 4 ประเภท ในกลุ่มประเภท สิ่งทอ อาหารแปรรูป ผลผลิตทางการเกษตร และสินค้าหัตถกรรม ได้แก่ ผ้าไหมยกดอก, ไส้อั่ว, น้ำผึ้ง, เครื่องเงินถนนวัวลาย โดยใช้แบบสอบถาม จำนวน 400 ตัวอย่าง การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) การวิเคราะห์สถิติเชิงอนุมาน(Inferential Statistics) และใช้สถิติสมการการถดถอยเชิงพหุคูณ (Multiple Regression) ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มคนหลากหลายทางเพศเจเนอเรชันวาย ที่ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็น ช่วงอายุ 24-32 ปี มีสถานภาพโสด มีระดับการศึกษาระดับปริญญาตรี มีอาชีพค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัว มีรายได้เฉลี่ย 15,000-35,000 บาท ได้รับอิทธิผลในการตัดสินใจซื้อ จากการตัดสินใจด้วยตัวเอง มักจะเลือกซื้อในช่วงเวลาวันธรรมดา มีความถี่ในการซื้อปีละครั้ง มีช่วงเวลาในการซื้อใกล้ช่วงเทศกาล มีแหล่งข้อมูลที่ทำให้ตัดสินใจในการซื้อจากเพื่อนหรือคนรู้จักแนะนำ มีปัจจัยที่ทำให้ตัดสินใจซื้อจากสินค้ามีคุณภาพ การรับรู้คุณค่าด้านตัวเงิน, การรับรู้คุณค่าด้านพฤติกรรม และการรับรู้คุณค่าด้านชื่อเสียง มีอิทธิพลต่อการยินดีที่จะแนะนำให้คนรู้จักมาซื้อผลิตภัณฑ์โอทอปในจังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดลำพูน และมีอิทธิพลต่อจะกลับมาซื้อ/ใช้ผลิตภัณฑ์ที่ได้รับโอทอปในจังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดลำพูนอีกครั้งในอนาคตen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611532138_ปราโมช ชนะชัยวิรดา.pdf5.79 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.