Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74148
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเชษฐภูมิ วรรณไพศาล-
dc.contributor.advisorเพ็ชรี รูปะวิเชตร์-
dc.contributor.authorเตชินี ทิมเจริญen_US
dc.date.accessioned2022-09-24T07:48:29Z-
dc.date.available2022-09-24T07:48:29Z-
dc.date.issued2022-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74148-
dc.description.abstractThis research aimed to 1) study context and situation of learning management with design thinking-based learning which promotes innovative thinking of students at Chiang Mai Vocational College, 2) create develop and research about design thinking-based learning which promotes innovative thinking of students at Chiang Mai Vocational College, and 3) to evaluate design thinking-based learning innovation which promotes innovative thinking for vocational students. The data collection for research and development were held in four stages. The first stage was to study context and situation of learning management by literatures review and interview including experts. The second stage was to develop and research about the efficiency of such learning management innovation. The third stage was to present the result of learning management innovation development. This last stage was to evaluate the innovation. The study shows that three results. First, knowledge about creative and free thinking is good context and situation which would lead to good learning management. However, relevant resources which would support learning management are still lacked. Second, learning management innovation, teacher guidebook, was evaluated by 5 experts and gained 0.95 points for Index of Consistency (IOC), which means proper level. Lastly, learning management innovation was evaluated by 5 teachers from different vocational schools in Chiang Mai and gained 0.86 points for IOC, which means proper level. This result also showed that the innovation was applicable to learning management.en_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ฐานการคิดเชิงออกแบบเพื่อส่งเสริมทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมวิชาสังคมศึกษา ของนักเรียนระดับอาชีวศึกษาen_US
dc.title.alternativeDevelopment of Design Thinking-Based Learning Management Innovation to Promote Social Studies Innovative Thinking Skills of Students at Vocational Education Levelen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashนวัตกรรมทางการศึกษา-
thailis.controlvocab.thashการเรียนรู้-
thailis.controlvocab.thashอาชีวศึกษา-
thailis.controlvocab.thashการเรียนแบบมีส่วนร่วม-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 3 ข้อ คือ 1.เพื่อศึกษาบริบทและสถานการณ์การจัดการเรียนรู้ฐานการคิดเชิงออกแบบที่ส่งเสริมทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมของนักเรียนในวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ 2.เพื่อพัฒนาและหาประสิทธิภาพนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ฐานการคิดเชิงออกแบบในการส่งเสริมทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมของนักเรียนในวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ และ 3.เพื่อประเมินผลนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ฐานการคิดเชิงออกแบบในการส่งเสริมทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้การวิจัยและพัฒนา แบ่งได้ 4 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1 ศึกษาบริบทและสถานการณ์การจัดการเรียนรู้จากเอกสารและจากการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ ระยะที่ 2 พัฒนาและหาประสิทธิภาพนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ ระยะที่ 3 นำเสนอผลการพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ ระยะที่ 4 ประเมินผลนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ ผลการวิจัยพบว่า 1) บริบทและสถานการณ์การจัดการเรียนรู้ ควรเริ่มจากการมีองค์ความรู้ในการสร้างสรรค์ทางความคิดอย่างอิสระ และพบว่าการจัดการเรียนรู้ยังขาดทรัพยากรที่สอดคล้องต่อการพัฒนานักเรียน 2) คู่มือครูนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้มีผลการประเมินประสิทธิภาพหาค่าความสอดคล้องโดยผู้เชี่ยวชาญ 5 ท่าน = 0.95 ซึ่งอยู่ในระดับเหมาะสม และ 3.การประเมินผลนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้โดยครู 5 ท่านในโรงเรียนสังกัดอาชีวศึกษาเชียงใหม่มีค่าความสอดคล้อง = 0.86 อยู่ในระดับเหมาะสม แสดงว่านวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้นสามารถนำไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ได้en_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
630231003 เตชินี ทิมเจริญ.pdf41.44 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.