Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74136
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorโรจนา ธรรมจินดา-
dc.contributor.authorอนัญญา อมรจตุรพรen_US
dc.date.accessioned2022-09-24T03:58:32Z-
dc.date.available2022-09-24T03:58:32Z-
dc.date.issued2021-07-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74136-
dc.description.abstractThis study aimed to study examine exchange rate risk management strategies of Longan exporters in Chiang Mai and Lamphun provinces. Questionnaires along with an in-depth interview were used as the tools to collect data from 27 Longan exporters in Chiang Mai and Lamphun provinces, 5 of which were regarded as the large enterprises with over 10 years of experience and expertise in exporting Longan. Data obtained were analyzed by the descriptive statistics i.e. frequency, percentage, and mean. The findings presented that monetary tools that the majority of Longan exporters in Chiang Mai and Lmaphun provinces used were the forward and the foreign currency deposit account; while non-monetary tool that all respondents applied was the use of local currency in trading. It was also found that different sizes of enterprises used different exchange rate risk management strategies. The Longan exporters in Chiang Mai and Lamphun provinces agreed that factor affecting their decision towards selection of the monetary tool to prevent the exchange rate risk at the highest level was the service of banks and financial institutions; followed by the foreign exchange rate and the rate of premium fee.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleกลยุทธ์การบริหารความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนของผู้ส่งออก ลำไยในจังหวัดเชียงใหม่และลำพูนen_US
dc.title.alternativeExchange rate risk management strategies of Longan exporters in Chiang Mai and Lamphun provincesen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashลำใย -- การส่งออก-
thailis.controlvocab.thashอัตราแลกเปลี่ยน-
thailis.controlvocab.thashปริวรรตเงินตรา-
thailis.controlvocab.thashการบริหารความเสี่ยง-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากลยุทธ์ในการบริหารจัดการความเสี่ยงที่เกิดจาก ความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน ของผู้ประกอบการส่งออกลำไย ในจังหวัดเชียงใหม่และลำพูน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล จากผู้ประกอบการส่งออกลำไย ใน จังหวัดเชียงใหม่และลำพูน จำนวน 27 ราย ร่วมกับใช้แบบสัมภาษณ์เชิงลึกเป็นเครื่องมือในการเก็บ รวบรวมข้อมูล จากกลุ่มตัวอย่างผู้ประกอบการส่งออกลำไย ในจังหวัดเชียงใหม่และลำพูน ซึ่งเป็น บริษัทขนาดใหญ่ มีประสบการณ์และมีความเชี่ยวชาญในการส่งออกลำไย มามากกว่า 10 ปี จำนวน 5 ราย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ และค่าเฉลี่ย ผลการศึกษาพบว่า กลยุทธ์ในการบริหารความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน แบบใช้เครื่องมือ ทางการเงินที่ผู้ส่งออกลำไย จังหวัดเชียงใหม่และลำพูนส่วนใหญ่ เลือกใช้มากที่สุด คือ สัญญาซื้อขาย เงินตราต่างประเทศล่วงหน้า และการเปิดบัญชีเงินฝากเงินต่างประเทศ ส่วนกลยุทธ์การบริหารความ เสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน แบบไม่ใช้เครื่องมือทางการเงิน ที่ส่งออกลำไย จังหวัดเชียงใหม่และลำพูน ทุกราย เลือกใช้ ได้แก่ การใช้เงินสกุลท้องถิ่น (Local Curency) ในการค้าขาย และ พบว่ากิจการที่มี ขนาดแตกต่างกันมีการเลือกใช้กลยุทธ์ในการบริหารความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนแตกต่างกัน ผู้ส่งออกลำย จังหวัดเชียงใหม่และลำพูน ส่วนใหญ่ เห็นว่า ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจ เลือกใช้เครื่องมือทางการเงินเพื่อป้องกันความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน ในระดับมากที่สุด คือ ปัจจัย ด้านการบริการของธนาคารและสถาบันการเงิน รองลงมาคือ ปัจจัยด้านอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ต่างประเทศ และปัจจัยด้านอัตราค่าธรรมเนียม Premiumen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611532032 อนัญญา อมรจตุรพร.pdf2.02 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.