Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74132
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Veerasak Punyapornwithaya | - |
dc.contributor.advisor | Duangporn Pichpol | - |
dc.contributor.advisor | Tongkorn Meeyam | - |
dc.contributor.author | Kunnanut Klaharn | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-09-24T02:32:11Z | - |
dc.date.available | 2022-09-24T02:32:11Z | - |
dc.date.issued | 2021-07 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74132 | - |
dc.description.abstract | Poultry meat is considered one of the most high-quality sources of protein and essential nutrients for human growth and development. However, it has been recognized as a potential vehicle for the transmission of certain dangerous foodborne pathogens including Salmonella spp., Staphylococcus aureus, and Escherichia coli. In the production chain, from farm to consumer, slaughterhouses are one of the potential elements of bacterial contamination in meat and its products. Thus, this study aimed to identify risk factors that were associated with the non-compliant status of bacterial contamination on chicken meat from slaughterhouses in Thailand. A total of 507 meat samples for microbiological analysis and data from the questionnaire survey including slaughterhouse management were performed by the veterinary authorities at chicken slaughterhouses (n = 507) across Thailand. The association between potential risk factors and non-compliant status of bacterial contamination on chicken meat was assessed using chi-square test and multivariable logistic regression. The percentages of the non-compliant status associated with aerobic plate count, APC, (23.47%), coliforms (14.40%), E. coli (30.77%), Enterococcus spp. (26.82%), S. aureus (7.49%) and Salmonella spp. (34.71%) were detected. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.title | Association between meat hygiene and chicken slaughterhouse management in Thailand during 2019-2020 | en_US |
dc.title.alternative | ความสัมพันธ์ระหว่างสุขศาสตร์เนื้อสัตว์และการจัดการในโรงฆ่าไก่ในประเทศไทยระหว่างปี 2562 ถึง 2563 | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | Slaughtering and slaughter-houses | - |
thailis.controlvocab.thash | Meat industry and trade | - |
thailis.controlvocab.thash | Chicken industry | - |
thailis.controlvocab.thash | Bacteria | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | เนื้อสัตว์ปีกถูกจัดว่าเป็นแหล่งโปรตีนคุณภาพสูงและมีสารอาหารที่จำเป็นสำหรับการเจริญเติบโต และพัฒนาการของมนุษย์ ในขณะเดียวกันเนื้อสัตว์ปีกเปรียบเสมือนพาหะในการแพร่กระจายของเชื้อ ก่อโรคที่มาจากอาหารที่เป็นอันตรายเช่น เชื้อซาลโมเนลล่า สตาฟิโลค็อกคัส ออเรียส แล เอสเซอริเชีย โคไล โดยเฉพาะในห่วงโซ่การผลิตเนื้อสัตว์ตั้งแต่ฟาร์มจนถึงผู้บริโภคพบว่าโรงฆ่าสัตว์เป็นหนึ่งใน องค์ประกอบที่อาจเกิดขึ้นจากการปนเปื้อนของแบคทีเรียในเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อระบุปัจจัยเสี่ยงที่มีความสัมพันธ์กับเนื้อไก่ที่มีสถานะการปนเปื้อนของ เชื้อแบคที่เรียที่ไม่เป็นไปตามข้อกำหนดของกรมปศุสัตว์จากโรงฆ่าสัตว์ในประเทศไทย ตัวอย่างเนื้อไก่ สำหรับการวิเคราะห์ทางจุลชีววิทยาจำนวน 507 ตัวอย่างและข้อมูลจากการสำรวจแบบสอบถามเกี่ยวกับ การจัดการโรงฆ่าสัตว์ดำเนินการโดยเจ้าหน้าที่สัตวแพทย์ดำเนินการที่โรงฆ่าไก่ทั่วประเทศไทย (n = 507) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นและเนื้อไก่ที่มีสถานะการปนเปื้อนของเชื้อแบคทีเรียที่ ไม่เป็นไปตามข้อกำหนดได้รับการวิเคราะห์ โดยใช้สมการถดถอยโลจิสติก จากการศึกษาพบตัวอย่าง เนื้อไก่ที่มีสถานะการปนเปื้อนของเชื้อแบคทีเรียไม่สอดคล้องตามข้อกำหนด ได้แก่ พบจำนวนแบคทีเรีย รวมไม่สอดคล้องตามข้อกำหนดร้อยละ 23.47, โคลิฟอร์มร้อยละ 14.40, อี โคไลร้อยละ 30.7, เอนเทอโรค็อกคัส ร้อยละ 26.82, สตาฟิโลค็อกคัส ออเรียส ร้อยละ 7.49 และเชื้อซาลโมเนลล่าร้อยละ 34.71 แบบจำลองสมการถดถอยโลจิสติกขั้นสุดท้ายระบุปัจจัยเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับ เนื้อไก่ที่มีสถานะ การปนเปื้อนของเชื้อแบคทีเรียรวมไม่เป็นไปตามข้อกำหนดคือกระบวนการลวกซากไก่โดยไม่ควบคุม อุณหภูมิน้ำร้อนลวกให้คงที่ (OR = 7.91, 95% CI =4.45-15.19) สำหรับปัจจัยเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับเนื้อไก่ ที่มีสถานะการปนเปื้อนของเชื้อแบคทีเรียโคลิฟอร์มไม่เป็นไปตามข้อกำหนด ได้แก่ กระบวนการลวก ซากไก่โดยไม่ควบคุมอุณหภูมิน้ำร้อนลวกให้คงที่ (OR = 7.80, 95% CI = 3.72-19.12) และการดำเนินการ โดยไม่ใช้อุปกรณ์แขวนซากเพื่อหลีกเลี่ยงการปนเปื้อนของซากสัตว์ (OR = 2.71, 95% CI = 1.15-6.1 1) สำหรับปัจจัยเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับเนื้อไก่ที่มีสถานะการปนเปื้อนของเชื้ออีโคไลไม่เป็นไปตามข้อกำหนด ได้แก่ กระบวนการลวกซากไก่โดยไม่ควบคุมอุณหภูมิน้ำร้อนลวกให้คงที่ (OR= 3.30, 95% CI = 2.15-5.17) และลักษณะของผลิตภัณฑ์ที่เป็นซากสัตว์ที่ผ่านกระบวนการล้วงเครื่องใน (OR = 2.09, 95% CI = 1.34-3.32) สำหรับปัจจัยเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับเนื้อไก่ที่มีสถานะการปนเปื้อนของเชื้อเอนเทอโรค็อกคัสไม่เป็นไปตาม ข้อกำหนด ได้แก่ กระบวนการลวกซากไก่โดยไม่ควบคุมอุณหภูมิน้ำร้อนลวกให้คงที่ (OR =4.67, 95% CI = 2.83-8.03) ลักษณะของผลิตภัณฑ์ที่เป็นซากสัตว์ที่ผ่านกระบวนการล้วงเครื่องใน (OR = 2.09, 95% CI = 1.29-3.43) และ การดำเนินการโดยไม่ใช้อุปกรณ์แขวนซากเพื่อหลีกเลี่ยงการปนเปื้อนของ ชากสัตว์ (OR = 1.99, 95% CI = 1.05-4.04) นอกจากนี้กระบวนการลวกซากไก่โดยไม่ควบคุมอุณหภูมิ น้ำร้อนลวกให้คงที่ (OR = 4.86, 95% CI = 2.03-14.41) ยังถือว่าเป็นปัจจัยเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับเนื้อไก่ที่ มีสถานะการปนเปื้อนของเชื้อสตาฟิโลค็อกคัส ออเรียสไม่เป็นไปตามข้อกำหนด โดยปัจจัยเสี่ยงที่ เกี่ยวข้องกับเนื้อไก่ที่มีสถานะการปนเปื้อนของเชื้อซาลโมเนลล่าไม่เป็นไปตามข้อกำหนด คือโครงสร้าง ของโรงฆ่าที่มีลักษณะเป็นอาการระบบเปิดและกึ่งปิด (OR = 2.01, 95% CI = 1.38-2.91) ปัจจัยเสี่ยงที่ ระบุในการศึกษานี้เกี่ยวข้องกับการฆ่าสัตว์ที่ถูกสุขลักษณะสิ่งอำนวยความสะควก ลักษณะของผลิตภัณฑ์ และการออกแบบสถานที่ ในขณะที่ปัจจัยเหล่านี้มีส่วนสำคัญต่อคุณภาพทางจุลชีววิทยาของเนื้อไก่ โดยการปรับปรุงมาตรการที่เกี่ยวข้องในการควบคุมสุขอนามัยและการจัดการโรงฆ่าเพื่อลดการปนเปื้อน ของแบคทีเรียในเนื้อไก่ในโรงฆ่าสัตว์ | en_US |
Appears in Collections: | VET: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
621435913 คุณณณัสม์ กล้าหาญ.pdf | 1.95 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.