Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74124
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSomporn Chantara-
dc.contributor.advisorWan Wiriya-
dc.contributor.authorSarana Chansuebsrien_US
dc.date.accessioned2022-09-21T10:18:18Z-
dc.date.available2022-09-21T10:18:18Z-
dc.date.issued2021-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74124-
dc.description.abstractUpper Northern Thailand (UNT) has suffered from annual smoke-haze episode during dry season. In this study, seasonal PM2s concentrations and chemical characteristics in urban and rural areas in 2019 were investigated. The objectives were to monitor ambient PM2.s and their water-soluble ions from traffic and biomass burning sources and to find the seasonal variation of water-soluble ion characteristics in urban and rural area for source identification. PM2s samples were collected in 24-hour basis from urban (Chiang Mai and Lampang) and rural (Chiang Dao and Mae Sariang) areas in 3provinces across UNT. The Average PM2s concentrations for hot dry season or haze season in descending order were Chiang Dao (115+50 ug m3), Lampang (110+29 1g m-3), Mae Sariang (80t33 ug m3 and Chiang Mai (77:41 ug m ). The average PM.5 concentrations in wet season ranged between 20-53 jg m 3, while those of cool dry season were 36-60 ug m-3. Source identification by Principal Component Analysis in Chiang Mai, Lampang and Mae Sariang in hot dry season were found to be mixed sources,characterized by dominating Secondary Inorganic Aerosols (SIA), including SO4, NH4+ and NO3 as well as Kt in forms of KNO3 and (NH4)2SO4. This referred to open burning, traffic emission and transboundary pollution. Conversely, sources of PM.s in Chiang Dao rural site were identified as mainly from biomass burning, indicated by primary and secondary potassium salts (KCl and KNO3). Despite high active fire counts in rural Mae Sariang, PM2.s had similar source identity to urban area rather than Chiang Dao may resulted from the area being more of receptor site, with mainly transboundary pollution from western direction. Active fire counts in Mae Sariang were also relatively low compared to those of Chiang Dao, where fire activities were constantly high throughout the season. Other minor sources included soil, both from surface soil combustion and soil resuspension, and sea salt from western and southwestern wind. PM2s source identification in non-haze season were more distinguishable between urban and rural areas, depending on the local emission sources. Urban areas had (NH4)2SO4 as main SIA species while rural areas had a trace of primary aerosols from biomass burning (KCl).en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleWater-soluble ions composition of ambient PM2.5 in relation to traffic and biomass burning sourcesen_US
dc.title.alternativeส่วนประกอบไอออนละลายน้ำของฝุ่นพีเอ็ม2.5 ในอากาศที่มีความสัมพันธ์กับแหล่งกำเนิดจากการจราจรและการเผาชีวมวลen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshEnvironmental engineering-
thailis.controlvocab.lcshPollution-
thailis.controlvocab.lcshDust-
thailis.controlvocab.thashDust control-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractพื้นที่ภาคเหนือตอนบนของประเทศไทยได้รับผลกระทบจากมลพิษหมอกควันที่เกิดขึ้นช่วงหน้าแล้งเป็นประจำทุกปี งานวิจัยนี้ได้ศึกษาความเข้มข้นฝุ่นและคุณลักษณะทางเคมีของฝุ่นในพื้นที่เมืองและพื้นที่นอกเมืองในทุกช่วงฤดูของปี 2562 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อติดตามตรวจสอบปริมาณฝุ่นพีเอ็ม2.5 และองค์ประกอบไอออนละลาขน้ำของฝุ่นจากแหล่งจราจร และแหล่งการเผาชีวมวล และเพื่อหาความผันแปรตามฤดูกาลของคุณลักษณะไอออนละถาขน้ำระหว่างพื้นที่เมืองและพื้นที่นอกเมืองเพื่อการระบุแหล่งกำเนิด โดยทำการเก็บตัวอย่างฝุ่นพี่เอ็ม2.5ราย 24 ชั่วโมงจากพื้นที่เมือง(เชียงใหม่และลำปาง) และนอกเมือง (เชียงดาวและแม่สะเรียง) จาก 3 จังหวัดภาคเหนือตอนบน ได้ค่าเฉลี่ยฝุ่นพี่เอ็ม2.5 ในช่วงฤดูร้อนหรือฤดูหมอกควันเรียงจากมากไปน้อยคือ เชียงดาว (115+50มคก./ลบ.ม.) เมืองลำปาง (1 10:29 มคก./ลบ.ม.) แม่สะเรียง (80-32 มคก/ลบ.ม.) และเมืองเชียงใหม่(77:41 มคก./ลบ.ม.) ในขณะที่ค่าเฉลี่ยฝุ่นพี่เอ็ม2.5 ในฤดูฝนอยู่ในช่วง 20-53 มคก./ลบ.ม. และค่าเฉลี่ยฤดูหนาวที่ 36-60 มคก/ลบ.ม. การวิเคราะห์ทาแหล่งกำเนิดโดยวิธี Principal Component Analysis ของฝุ่นที่เชียงใหม่ ลำปาง และ แม่สะเรียงในฤดูร้อน พบเป็นแหล่งกำนิดผสม โดยดูจากคุณลักษณะที่มีสารละอองลอยอนินทรีย์ทุติยภูมิ (SO, NH, และ NO) และ K+ เป็นองค์ประกอบ เด่น ในรูปของ KNO, และ (NH)SO, โดขมีแหล่งกำเนิดจากการเผาในที่ โล่ง แหล่งการจราจร และมลพิษข้ามแดน ในทางตรงกันข้ามมีเพียงฝุ่นพี่เอ็ม2. ของเชียงดาวที่ระบุได้เป็นแหล่งจากการเผาชีวมวลเป็นหลัก โดยดูจากองค์ประกอบเด่นที่เป็นเกลือปฐมภูมิและเกลือติยภูมิของ K (KCI และKNO) ซึ่ง K ก็เป็นตัวบ่งชี้การเผาชื่วมวล อย่างไรก็ตาม แม้ว่าอำเภอแม่สะเรียงจะมีจำนวนจุดความร้อนสูง กลับพบว่าแหล่งที่มาของฝุ่นพีเอ็ม2.5 คล้ายกับพื้นที่เมืองมากกว่าพื้นที่นอกเมืองเช่นเชียงดาวทั้งนี้อาจเนื่องมาจากมีสภาพพื้นที่ที่เป็นจุครับมลพิษ โคยมลพิษส่วนใหญ่เป็นมลพิษข้ามแคนจากฝั่งตะวันตก จำนวนจุดความร้อนของแม่สะเรียงค่อนข้างต่ำเมื่อเทียบกับเชียงดาวที่พบการเผาในที่โล่งจำนวนมากตลอดฤดูกาล นอกจากนี้ยังมีแหล่งกำเนิดขนาดย่อมได้แก่ แหล่งจากดินทั้งที่เกิดจากการเผาไหม้หน้าดินและการฝุ่นดินที่แขวนลอยในอากาศและเกลือทะเลจากการพัดพาของลมตะวันตกและตะวันตกเฉียงใต้ สำหรับการระบุแหล่งที่มาของฝุ่นพี่เอ็ม2.5 ช่วงนอกฤดูหมอกควัน พบว่า สามารถจำแนกความแตกต่างระหว่างพื้นที่ในเมืองและพื้นที่นอกเมืองได้ค่อนข้างชัดเจน เนื่องจากมีปัจจัยหลักคือการปลดปล่อยมลพิษจากแหล่งในพื้นที่ โดยในพื้นที่เมืองพบละอองลอยอนินทรีย์ทุติยภูมิหลัก คือ แอมโมเนียมซัลเฟต (NH)SO, ส่วนในพื้นที่นอกเมืองพบละอองลอยที่เกิดจากการเผาไหม้ชีวมวลปฐมภูมิ คือ โพแทสเซียมคลอไรค์ (KC)en_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
600531143 สรณะ จรรย์สืบศรี.pdf5.8 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.