Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74118
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พิมพ์ชนก เครือสุคนธ์ | - |
dc.contributor.author | บุญญาดา มากรกิตติภัทร | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-09-20T01:14:00Z | - |
dc.date.available | 2022-09-20T01:14:00Z | - |
dc.date.issued | 2021-07 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74118 | - |
dc.description.abstract | The purposes of this research were (1) to investigate the relationships between perceived organizational justice, turnover intention, and perceived psychological contract breach of employees in an agro - industrial company, and (2) to examine the mediating role of perceived psychological contract breach in the relationship between perceived organizational justice and turnover intention of employees in an agro - industrial company. The correlational research design was used. The population was 250 employees in an agro - industrial company. Research instruments consisted of demographic questionnaire, Perceived Organizational Justice Scale, Perceived Psychological Contract Breach Scale and Turnover Intention Scale. Data were analyzed by using Pearson Product Moment Correlation, multiple regression analysis, mediation analysis using procedure from Baron and Kenny (1986) and Sobel's Test. The research results were as follows: 1. Perceived organizational justice had a significantly negative correlation with perceived psychological contract breach of employees in an agro - industrial company at the .01 level (r=-.595**). 2. Perceived psychological contract breach had a significantly positive correlation with turnover intention of employees in an agro - industrial company at the .01 level (r=.534**). 3. Perceived organizational justice had a significantly negative correlation with turnover intention of employees in an agro - industrial company at the .01 level (r=-.274). 4. Perceived psychological contract breach was fully mediated the relationship between perceived organizational justice and turnover intention of employees in an agro - industrial company (p <.01) and indirect effect of -0.445. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความยุติธรรมในองค์การและความตั้งใจลาออกจากงานของพนักงานระดับปฏิบัติการในบริษัทเกษตรอุตสาหกรรมแห่งหนึ่ง: บทบาทการเป็นตัวแปรสื่อของการรับรู้การละเมิดสัญญาทางจิตวิทยา | en_US |
dc.title.alternative | Relationship between perceived organizational justice and turnover intention of employees in an agro – industrial company: The Mediating role of perceived psychological contract breach | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | ความพอใจในการทำงาน | - |
thailis.controlvocab.thash | ความยุติธรรม | - |
thailis.controlvocab.thash | พนักงานบริษัท | - |
thailis.controlvocab.thash | การลาออก | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 2 ประการ คือ (1) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความยุติธรรมในองค์การ ความตั้งใจลาออกจากงาน และการรับรู้การละเมิดสัญญาทางจิตวิทยาของพนักงานระดับปฏิบัติการในบริษัทเกษตรอุตสาหกรรมแห่งหนึ่ง และ (2) เพื่อศึกษาบทบาทการเป็นตัวแปรสื่อของการรับรู้การละเมิดสัญญาทางจิตวิทยาในความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความยุติธรรมในองค์การและความตั้งใจลาออกจากงานของพนักงานระดับปฏิบัติการในบริษัทเกษตรอุตสาหกรรมแห่งหนึ่งรูปแบบการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงสหสัมพันธ์ ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ พนักงานระดับปฏิบัติการในบริษัทเกษตรอุตสาหกรรมแห่งหนึ่ง จำนวน 250 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ประกอบค้วย แบบสอบถามคุณลักษณะส่วนบุคคล แบบวัดการรับรู้ความยุติธรรมในองค์การ แบบวัดการรับรู้การละเมิดสัญญาทางจิตวิทยา และแบบวัดความตั้งใจลาออกจากงาน การวิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ และการวิเคราะห์ตัวแปรสื่อโดยใช้ขั้นตอนของ Baron and Kenny (1986) และการคำนวณค่าสถิติของโซเบล (Sobel's Test) ผลการวิจัยพบว่า 1. การรับรู้ความยุติธรรมในองค์การมีความสัมพันธ์ทางลบกับการรับรู้การละเมิดสัญญาทางจิตวิทยา (r=-.595**) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2. การรับรู้การละเมิดสัญญาทางจิตวิทยามีความสัมพันธ์ทางบวกกับความตั้งใจลาออกจากงาน (r=.534**) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3. การรับรู้ความยุติธรรมในองค์การมีความสัมพันธ์ทางลบกับความตั้งใจลาออกจากงาน (r=-.274**) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 4. การรับรู้การละเมิดสัญญาทางจิตวิทยาเป็นตัวแปรสื่อสมบูรณ์ของการรับรู้ความยุติธรรมในองค์การและความตั้งใจลาออกจากงานของพนักงานระดับปฏิบัติการในบริษัทเกษตรอุดสาหกรรมแห่งหนึ่งอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และมีอิทธิพลทางอ้อมเท่ากับ -0.445 | en_US |
Appears in Collections: | HUMAN: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
590132006 บุญญาดา มากรกิตติภัทร.pdf | 3.96 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.