Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74107
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Ariya Svetamra | - |
dc.contributor.advisor | Apinya Fuengfusakul | - |
dc.contributor.advisor | Paiboon Hengsuwan | - |
dc.contributor.author | Jantanee Kanto | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-09-18T03:54:13Z | - |
dc.date.available | 2022-09-18T03:54:13Z | - |
dc.date.issued | 2021-07 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74107 | - |
dc.description.abstract | This research aims to understand a woman’s self-transformation process from the stigmatized selves to the empowered selves, and to understand the different dimensions of strategies a woman used to negotiate with herself and society, particularly how a women give meanings to her interactions symbolically to a social world. There are two main concepts in this study which are; Social Norms on Gender and Sexuality, Negotiation of Women in Social Interactions. This study is a qualitative research using autoethnography as a research methodology. From the result of this study, the main findings show that a woman’s selfformation was not only about the concept of gender and sexuality but also from the development of self; the formation of broken, stigmatized, traumatic, and empowered selves. There are four dimensions of strategies a woman used to cope with failures from past relationship due to traumatic self; education, economics, relationship, and writing. She has to negotiate with social structure and allow herself to live under the norms sometimes. At the same time, she tries to totally free herself in both public and domestic sphere. It shows the process of a woman’s self-transformation from the stigmatized self to the empowered self. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.title | A moment of self-reflection: from stigmatized self to empowered self | en_US |
dc.title.alternative | ขณะหนึ่งในห้วงคำนึงแห่งตัวตน: ตัวตนที่ถูกตีตราสู่ตัวตนที่มีพลัง | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | Women | - |
thailis.controlvocab.thash | Femininity | - |
thailis.controlvocab.thash | Conduct of life | - |
thesis.degree | doctoral | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | งานวิจัยชิ้นนี้มีจุดประสงค์เพื่อทำความเข้าใจ กระบวนการเปลี่ยนแปลงตัวตนของผู้หญิงคน หนึ่งจากตัวตนที่ถูกตีตราสู่ตัวตนที่มีพลัง และทำความเข้าใจถึงมิติต่างๆ ของกลยุทธ์ที่ผู้หญิงใช้ในการ ต่อรองกับตนเองและสังคมโดยเฉพาะอย่างยิ่งว่าผู้หญิงนั้นได้ให้ความหมายต่อการมีปฏิสัมพันธ์ เชิงสัญญะอย่างไรกับสังคม โลก มีการใช้แนวคิดหลัก 2 แนวคิดในงานวิจัยชิ้นนี้ นั่นคือ บรรทัดฐาน ทางสังคมในเรื่องเพศภาวะและเพศวิถี และการต่อรองของผู้หญิงในการมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคม งานวิจัยชิ้นนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพโดยการใช้วิธีการเล่าเรื่องชีวิตเชิงอัตชาติพันธุ์วรรณา จากผลของงานศึกษาชิ้นนี้ ข้อค้นพบหลักได้แสดงให้เห็นว่ากระบวนการสร้างตัวตนของผู้หญิง นั้นไม่ได้เป็นเพียงแค่แนวคิดด้านเพศภาวะและเพศวิถีเท่านั้น แต่ยังมาจากการพัฒนาตัวตนที่แตก สลาย ถูกตีตรา มีบาดแผล และมีพลัง ด้วยเช่นกัน ผู้หญิงได้ใช้มิติทางด้านกลยุทธ์จำนวน 4 กลยุทธ์ใน การจัดการกับความล้มเหลวของความสัมพันธ์ในอคีตที่มาของตัวตนที่มีบาดแผล นั่นก็คือการศึกษา เศรษฐกิจ ความสัมพันธ์ และงานเขียน ผู้หญิงได้ทำการต่อรองกับโครงสร้างทางสังคม และบางครั้งก็ ยอมให้ตนอยู่ใต้บรรทัดฐานต่างๆ ในขณะเดียวกันผู้หญิงก็ได้พยายามเป็นอิสระอย่างสิ้นเชิงทั้งใน พื้นที่ส่วนตัวและพื้นที่สาธารณะ สิ่งนี้ได้แสดงให้เห็นถึงกระบวนการการสร้างตัวตนของผู้หญิงจาก ตัวตนที่ถูกตีตราสู่ตัวตนที่มีพลัง | en_US |
Appears in Collections: | SOC: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
580455903 จันทนี กันโฑ.pdf | 3.83 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.