Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74102
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวาปี มโนภินิเวศ-
dc.contributor.authorสัจพจน์ ศรีประกายพรen_US
dc.date.accessioned2022-09-17T07:38:22Z-
dc.date.available2022-09-17T07:38:22Z-
dc.date.issued2022-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74102-
dc.description.abstractNowadays, cancer is increasing every year in many countries as a result, the waiting time for treatment increases. This research aims to apply a mathematical model for radiotherapy planning and scheduling problems with capacity constraints over a multi-period time. The goal is to schedule a list of 3D Curative Care patients who need to get radiation treatment. The problem is formulated with a multi-objective model with two stages: minimizing the makespan (Z_1) and priority patient score (Z_2) in the first stage. minimizing the sum of the finish time (Z_3), the sum of different balance workloads (Z_4) and assigned patients to RT room score (Z_5) in the second stage. Mathematical models were developed using the simulated data according to real treatments of 3D Curative Care patients with sample data from 6 major cancers. All objectives are formulated and weight-normalization method. The results show that the model satisfies all constraints with the right assignment and operation sequence. The patient's waiting time from the previously fixed 28 days was reduced. Then compare the time results, the proposed mathematical model reduces planning time from hours to minutes. The weight sensitivity analysis in the objective equation, it was found that the linear relationship and showed no difference from the weighting change in stage 1 and the objective equations Z_3 between Z_5 in stage 2 was trade off relationship. This mathematical model can assist the decision-maker to planning cancer patient scheduling for radiotherapy treatment. The research is still ongoing to find ways to improve the effectiveness of the model for a wide variety of patient scheduling problems and larger problemsen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการจัดตารางเวลาen_US
dc.subjectรังสีรักษาen_US
dc.subjectแบบจำลองทางคณิตศาสตร์en_US
dc.titleการจัดตารางผู้ป่วยสำหรับแผนกรังสีรักษาen_US
dc.title.alternativePatient scheduling for radiotherapy departmenten_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashการรักษาด้วยรังสี-
thailis.controlvocab.thashแบบจำลองทางคณิตศาสตร์-
thailis.controlvocab.thashการบริหารเวลา-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractในปัจจุบันโรคมะเร็งมีอัตราเพิ่มสูงขึ้นในทุกประเทศในศตวรรษที่ 21 ซึ่งจำนวนผู้ป่วยที่เพิ่มขึ้นทุก ๆ ปีนั้นส่งผลให้ระยะรอในการรักษาของผู้ป่วยนั้นเพิ่มขึ้น งานวิจัยนี้เกี่ยวข้องกับการจัดตารางการรักษาด้วยรังสีรักษาสำหรับผู้ป่วยโรคมะเร็ง โดยได้เสนอแบบจำลองทางคณิตศาสตร์สำหรับการวางแผนรังสีรักษาหลายช่วงเวลา และปัญหาของกำหนดการที่มีขีดกำจัด เป้าหมายของแบบจำลองคือการกำหนดเวลา และวางแผนรายชื่อกลุ่มผู้ป่วย Curative Care ที่เข้ากระบวนการรักษา 3D ซึ่งปัญหาถูกกำหนดด้วยแบบจำลองหลายวัตถุประสงค์โดยแบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน ในขั้นตอนที่ 1 คือผลรวมของเวลาในการรักษาผู้ป่วยให้น้อยที่สุด (Z_1) รวมถึงเวลาลำดับความเร่งด่วนของผู้ป่วยให้น้อยที่สุด (Z_2) และในขั้นตอนที่ 2 ได้ทำการรวม 3 สมการเป้าหมายเข้าด้วยกันเพื่อให้ใกล้เคียงกับปัญหาจริง คือผลรวมของเวลางานเสร็จสิ้น (Z_3) สมดุลปฏิบัติงานห้องฉายรังสีที่แตกต่างกัน (Z_4) และผลรวมคะแนนการจัดสรรอันดับผู้ป่วยเข้าห้องฉายรังสีให้น้อยที่สุด (Z_5) แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ถูกพัฒนาโดยใช้ข้อมูลจำลองตามรูปแบบของการรักษาของผู้ป่วยจริงและตัวอย่างจาก 6 กลุ่มโรคมะเร็งหลัก ค่าวัตถุประสงค์ทั้งหมดจะถูกสร้างให้อยู่ในรูปแบบฐานเดียวกันและใช้วิธีการถ่วงน้ำหนัก ซึ่งผลลัพธ์แสดงให้เห็นว่า แบบจำลองเป็นไปตามข้อจำกัดทั้งหมด ด้วยการกำหนดลำดับการทำงานที่ถูกต้อง ผลที่ออกมาสามารถลดเวลาการรอคอยของผู้ป่วยจากเดิมที่กำหนดค่าคงที่ไว้ 28 วันลงให้เร็วขึ้น จากนั้นทำการเปรียบเทียบผลลัพธ์เวลา ซึ่งแบบจำลองทางคณิตศาสตร์สามารถลดเวลาในการวางแผนจากหลักชั่วโมงเหลือเป็นหลักนาทีได้ และจากการวิเคราะห์ความไวของค่าถ่วงน้ำหนักในสมการวัตถุประสงค์ในขั้นตอนที่ 1 พบว่ามีความสัมพันธ์เชิงเส้น ไม่ได้มีความต่างจากการเปลี่ยนการให้น้ำหนัก และสมการวัตถุประสงค์ในขั้นตอนที่ 2 นั้น Z_3 และ Z_5 มีความสัมพันธ์แบบประนีประนอมได้อย่างเสียอย่างกัน ดังนั้นแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ที่เสนอจะสามารถช่วยให้กระบวนการตัดสินใจสำหรับการจัดตารางผู้ป่วยโรคมะเร็งสำหรับการรักษาด้วยรังสีรักษาในการวางแผนและกำหนดเวลาในแผนกได้ การศึกษาในปัจจุบันยังคงต้องดำเนินต่อไปในการหาประสิทธิภาพของแบบจำลองเพื่อสำหรับปัญหาการจัดตารางการรักษาผู้ป่วยที่หลากหลายและปัญหาที่ใหญ่มากขึ้นen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620631067 สัจพจน์ ศรีประกายพร.pdf3.38 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.