Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74060
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorผศ.ดร. จารึก สิงหปรีชา-
dc.contributor.advisorผศ.ดร. จิราคม สิริศรีสกุลชัย-
dc.contributor.authorวชิรวิทย์ พุทธชัยen_US
dc.date.accessioned2022-09-01T17:05:17Z-
dc.date.available2022-09-01T17:05:17Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74060-
dc.description.abstractThis study aims to examine the relationship among agricultural pesticides and its impact on agriculture and other economic sectors of Thailand, in the context of chemical use and cancellation, as well as the impact on household income distribution. The database of the social accounting matrix in 2018 is utilized in this study, with the production sector divided according to the chemical relevance of paraquat, glyphosate, and chlorpyrifos. Moreover, the model is divided into three parts: 1) estimation of the multiplier, 2) estimation of the linkage effect, and 3) estimation of income distribution. The results reveal that the use of chemicals could have a positive impact on the economy through the expansion of agriculture and related sectors. On the other hand, if the use of chemicals was reduced, these branches of the production sector would be subject to the highest backward linkage, including maize corn grinding and tapioca production while still limiting the forward linkage in all branches of production. The goods and services sector would have the highest backward linkage in most of their branches with fruits, palm oil, and tapioca production benefiting from the forward linkage. When simulations were performed by reducing the use of chemicals from 25% to 100%, the value of multipliers in all economic sectors reduced, although the number of patients incurring medical expenses as a result of chemical exposure decreased and income inequality between households was unclear. Therefore, the government should provide and implement an effective method of economic management and set a food safety policy, if chemicals continue to be used. Furthermore, a reduction in the use of chemicals should be subject to a policy for planning and promoting industry and market production, taking into account the effect of both backward and forward linkages.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleผลกระทบของการยกเลิกสารกำจัดศัตรูพืชทางการเกษตรในกรอบดุลยภาพทั่วไปen_US
dc.title.alternativeImpact of agricultural pesticides cancellation in a general equilibrium frameworken_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashเกษตรกรรม -- ผลกระทบจากยากำจัดศัตรูพืช-
thailis.controlvocab.thashยากำจัดศัตรูพืช-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบและความเชื่อมโยงของสารเคมีกำจัดศัตรูพืชที่มีต่อ ภาคเกษตรและสาขาเศรษฐกิจอื่นในระบบเศรษฐกิจของไทยทั้งในบริบทของการใช้และการยกเลิกใช้ สารเคมี รวมถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อการกระจายรายได้ของครัวเรือน โดยใช้ฐานข้อมูลบัญชีเมตริกซ์ สังคม พ.ศ. 2561 โดยได้แบ่งสาขาการผลิตตามความเกี่ยวข้องกับสารเคมี ได้แก่ พาราควอต ไกลโฟเซต และคลอร์ไพริฟอส สำหรับแบบจำลองประกอบด้วย 3 ส่วน ได้แก่ 1) การประมาณค่าตัวทวีคูณ 2) การ ประมาณค่าผลกระทบเชื่อมโยง และ 3) การประมาณค่าการกระจายรายได้ ผลการศึกษาพบว่า การใช้สารเคมีสามารถส่งผลให้ระบบเศรษฐกิจสามารถขยายตัวได้ผ่านภาค เกษตรและสาขาเศรษฐกิจที่เกี่ยวข้อง ขณะที่หากมีการยกเลิกใช้สารเคมี สาขาในภาคการผลิตที่มีผลกระทบ เชื่อมโยงไปข้างหลังมากสุด ได้แก่ สาขาการบดข้าวโพดและสาขาผลิตภัณฑ์มันสำปะหลัง ส่วนผลกระทบ เชื่อมโยงไปข้างหน้ายังคงมีค่าน้อย ถัดมาในภาคสินค้าและบริการมีผลกระทบเชื่อมโยงไปข้างหลังมาก เกือบทุกสาขา ผลกระทบเชื่อมโยงไปข้างหน้าพบมากสุด ได้แก่ สาขาสวนผลไม้ สาขาการผลิตน้ำมัน ปาล์ม และสาขาผลิตภัณฑ์มันสำปะหลัง นอกจากนี้ เมื่อทำการจำลองสถานการณ์ โดยยกเลิกใช้สารเคมี ตั้งแต่ระดับ 25% ถึง 100% พบว่าค่าตัวทวีคูณในทุกสาขาเศรษฐกิจสามารถลดลงได้ แม้การเบิกจ่ายค่า รักษาพยาบาลของผู้ป่วยที่เกิดจากสารเคมีจะลดลงและความเหลื่อมล้ำทางรายได้ระหว่างครัวเรือนยังไม่ ชัดเจนมากนัก ดังนั้นรัฐบาลควรมีนโยบายการจัดการเศรษฐกิจและการกำหนดนโยบายด้านอาหาร ปลอดภัยที่ดี หากยังคงเดินหน้าใช้สารเคมีต่อไป ขณะที่การยกเลิกใช้สารเคมีควรมีนโยบายเพื่อวางแผน ส่งเสริมอุตสาหกรรมและตลาดการผลิต โดยพิจารณาจากผลกระทบเชื่อมโยงไปข้างหลังและข้างหน้าen_US
Appears in Collections:ECON: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611631014 วชิรวิทย์ พุทธชัย.pdf2.93 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.