Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74050
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพิสัยศิษฏ์ ชัยจรีนนท์-
dc.contributor.authorปารย์รวี ถนอมศักดิ์ชัยen_US
dc.date.accessioned2022-09-01T16:47:08Z-
dc.date.available2022-09-01T16:47:08Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74050-
dc.description.abstractObjective: To study mechanical properties of zirconia after bonded with flowable resin composite using resin cement containing different functional monomers. Material and method: A sintered YTZP zirconia blank was cut into 60 cubic blocks size 7x7 x1mm then embedded in cylindrical tube with epoxy resin. All specimens were soaked in artificial saliva for 3 minutes then cleaned and dried. A total of 36 resin composite rods were fabricated in size of 3mm diameter and 3mm height. Specimens were divided into 5 groups; Group1: Directly bonded with flowable resin composite (control), Group2: Sandblasted with 50-micron aluminum oxide particle at 2.0 bar pressure from 10 cm distance for 20 seconds then directly bonded with resin composite, Group3: Sandblasted then bonded with composite rod using Panavia F2.0, Group4: Sandblasted then bonded with composite rod using Clearfil ceramic primer and Panavia F2.0, Group5: Sandblasted then bonded with composite rod using Superbond C&B. All specimens were tested for shear bond strength using universal testing machine with a crosshead-speed of 1.0 mm/min. All data were statistically analyzed using One-way ANOVA and Tukey's HSD test. Mode of failure was identified using stereomicroscope at 20x magnification. Results: Group5 had the highest mean shear bond strength but was not significantly different with Group3 and Group4 (p>0.05) while Groupland2 had no significant difference on mean shear bond strength. (p>0.05) Conclusion: Different functional monomers in resin cement had no effect on shear bond strength between zirconia and resin composite.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความแข็งแรงยึดเฉือนระหว่างเซอร์โคเนียกับเรซินคอมโพสิตชนิดไหลแผ่ได้ที่ยึดติดด้วยเรซินซีเมนต์ที่มีหมู่โมโนเมอร์ทำงานที่ต่างกันen_US
dc.title.alternativeShear bond strength of Zirconia to flowable resin composite with resin cement containing different functional monomersen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashการยึดติดทางทันตกรรม-
thailis.controlvocab.thashทันตวัสดุ-
thailis.controlvocab.thashเรซินทางทันตกรรม-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวัดถุประสงค์: เพื่อศึกษาคุณสมบัติเชิงกลของเซอร์โคเนียภายหลังการยึดติดกับเรซินคอมโพสิตชนิด ไหลแผ่ได้ที่ยึดติดด้วยเรซินซีเมนต์ที่มีหมู่โมโนเมอร์ทำงานที่ต่างกัน วัสดุและวิธีการ: แผ่นเชอร์โคเนียชนิดวายทีซีพีตัดเป็นชิ้น ขนาด 7x7x1 มม3 จำนวน 60 ชิ้น ใส่ในท่อ พลาสติกพีวีชีทรงกระบอกหน้าตัดกลม และขีดด้วยวัสดุอีพอกซี่เรซิน นำไปแช่น้ำลายเทียมเป็นเวลา 3 นาที และล้างด้วยน้ำสะอาด เตรียมแห่งคอมโพสิตชนิดไหลแผ่ได้ทรงกระบอกขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 3 มม. สูง 3 มม. จำนวน 36 ขึ้น แบ่งชิ้นทคสอบเซอร์โคเนียออกเป็น 5 กลุ่ม กลุ่มละ 12 ชิ้น ดังนี้ กลุ่มที่ 1 กลุ่มควบคุม ยึดกับคอมโพสิตชนิดไหลแผ่ได้โดยตรง กลุ่มที่2 เป่าทรายด้วยอนุภาคอลูมินาขนาด 50 ไมครอน ที่ความดันบรรยากาศ 2 บาร์ นาน 20 วินาที แล้วยืดกับคอมโพสิตชนิดไหลแผ่ได้โดยตรง กลุ่มที่3 เป่าทรายและขีดกับแห่งคอมโพสิตด้วยพานาเวียร์เอฟ 2.0 กลุ่มที่4 เป่าทรายและยึดกับแท่งคอม โพสิตโดยใช้เซรามิกไพรเมอร์ร่วมกับพานาเวียร์เอฟ 2.0 กลุ่มที่ 5 เป่าทรายและยึดกับแท่งคอมโพสิต ด้วยซุปเปอร์บอนด์ซีแอนด์บี ทดสอบความแข็งแรงยึดเฉือนด้วยเครื่องทดสอบสากลสากล ที่ความเร็ว หัวกด 1.0 มิลลิเมตรต่อนาที่ นำข้อมูลมาวิเคราะห์ทางสถิติเปรียบเที่ยบความแข็งแรงยึดเฉือนโดยใช้ การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวและการทคสอบเอชเอสดีของตูกี จำแนกรูปแบบความล้มเหลว ของการยึดติดของชิ้นทดสอบด้วยกล้องจุลทรรศน์ที่กำลังขยาย 20 เท่า ผลการศึกษา: ค่าความแข็งแรงยึดเฉือนเฉลี่ยมากที่สุดในกลุ่มที่ 5 แต่ไม่แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติกับกลุ่มที่ 3 และ 4 (p>0.05) ในขณะที่กลุ่มที่ 1 และ 2 มีค่าความแข็งแรงยึดเฉือนไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p>0.05) สรุปผลการศึกษา: เรซินซีเมนต์ที่มีโมโนเมอร์ทำงานที่ต่างกัน ไม่ส่งผลต่อค่าความแข็งแรงยึดเฉือน ของเซอร์โคเนียกับเรซินคอมโพสิตชนิดไหลแผ่ได้en_US
Appears in Collections:DENT: Theses



Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.