Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74040
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Yupha Mahamart | - |
dc.contributor.author | Langston, William Carroll | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-09-01T16:21:57Z | - |
dc.date.available | 2022-09-01T16:21:57Z | - |
dc.date.issued | 2021 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74040 | - |
dc.description.abstract | This collection of 56 portrait photographs documents Chiang Mai's working class natives. The series highlights the significance of blue collar labor workers in Chiang Mai and northern Thailand. Subject's framed in their natural work environment strive to create an enriched appreciation and respect of Chiang Mais hard working labor class. The black-and white photographic series documents a diverse selection of working class occupations with an emphasis on waged and salaried labor. Professions in the portraits include farmers, construction workers, delivery men, street food vendors and first responders. Chiang Mai's unique landscape and working environment compliments each photographed labourer to further add characterization and personality to each worker. This study documents and archives traditional contemporary working class groups such as unskilled labourers, artisans and outworkers. This contemporary photographic collection preserves and chronicles the northern Thai working class as it is seen today. Digital black-and-white photography is the media of choice throughout the series; A Nikon D810 camera, a Nikon D610 camera, 24-120mm zoom lens and 50mm fixed lens were used to capture the exhibited images. Small post-processing adjustments to light and value was used via Adobe Lightroom version 3.4 and additional edits were done when necessary by using Adobe Photoshop version 22.0.1. Minimal photographic manipulation was applied throughout the series to maintain the integrity of the subjects photographed. The research concludes that the spectrum of professions amongst the Chiang Mai working class is strikingly vast and that each photographed individual is absolutely significant and contributes to Chiang Mai's unique northern Thailand culture and community. Working Class Portraits: Chiang Mai, Thailand represents a contemporary perspective on working class conditions, individuals and environments in Chiang Mai and aids in making the labour class more visible and appreciated. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.title | Working class portraits: Chiang Mai, Thailand | en_US |
dc.title.alternative | ภาพบุคคลชนชั้นแรงงาน: เชียงใหม่ ประเทศไทย | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | Photographs | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Labor -- Chiang Mai | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Labor -- Thailand, Northern | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | ผลงานศิลปะการถ่ายภาพจำนวนทั้งสิ้น 56 ภาพนี้ ได้บันทึกเรื่องราวจากบุคคลชนชั้นแรงงาน ในท้องถิ่นของจังหวัดเชียงใหม่ ภาพถ่ายชุดนี้มีจุดมุ่งหมายที่จะแสดงให้เห็นถึงความสำคัญของ กลุ่มคนผู้ใช้แรงงานในจังหวัดเชียงใหม่รวมทั้งแถบภาคเหนือของประเทศไทย บุคคลในภาพถูก ถ่ายจากสภาวะแวดล้อมจริงที่พวกเขาต้องตรากตรำทำงาน เพื่อแสดงออกถึงการสรรเสริญและ เคารพเชิดชูอย่างจริงใจต่อชนชั้นกรรมาชีพ ผู้ทำงานอย่างทรหดอดทนในจังหวัดเชียงใหม่ ชุด ผลงานภาพถ่ายขาวคำนี้ยังได้หยิบยกความหลากหลายทางสายอาชีพของผู้ใช้แรงงานมานำเสนอ โดยมุ่งเน้นไปยังกลุ่มกรรมกรและลูกจ้างรายวันเป็นสำคัญ ซึ่งอาชีพของแต่ละบุคคลในภาพนั้นมี ทั้ง ชาวนา ช่างก่อสร้าง คนส่งของ หาบเร่แผงลอย และหน่วยกู้ภัย ประกอบกับทัศนียภาพทาง ธรรมชาติที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวและสภาวะแวดล้อมของการขายแรงงานซึ่งปรากฏอยู่โดยรอบ เมืองเชียงใหม่ ได้ช่วยส่งเสริมให้ภาพถ่ยของชนชั้นแรงงานแต่ละคนแสดงออกถึงลักษณะนิสัย และบุคลิกภาพเฉพาะตัวอย่างชัดเจนมากยั่งขึ้น การศึกษาในครั้งนี้ยังเป็นการเก็บบันทึกและ รวบรวมข้อมูลในช่วงเวลาปัจจุบันของกลุ่มอาชีพแรงงานที่มีมาตั้งแต่ในอดีต อาทิเช่น ชาวบ้าน ช่างฝีมือท้องถิ่น และแรงงานรับจ้างอิสระ โครงงานชุดผลงานศิดปะภาพถ่ายร่วมสมัยนี้จึงทำหน้าที่ เก็บรักษาและบันทึกเรื่องราวของชนชั้นแรงงานที่มีตัวตนอยู่ทางภาคเหนือของประเทศไทย ดังที่จะ พบเห็นได้ในยุคสมัยนี้ โดยการถ่ายภาพขาวดำด้วยระบบดิจิทัล (Digital Photography) ถูกเลือกมา ใช้เป็นสื่อในการสร้างสรรค์ผลงาน ผ่านกล้องถ่ายภาพของนิคอน (Nikon) รุ่นดี 810 (D810) และ รุ่นดี 610 (D610) พร้อมด้วยเลนส์ซูม (Zoom Lens) มีช่วงระยะเลนส์อยู่ที่ 24-120 มิลลิเมตร และ เลนส์ฟิกซ์ (Fixed Lens) ซึ่งมีช่วงระยะเลนส์อยู่ที่ 50 มิลลิเมตร สำหรับการถ่ายภาพบุคคลในการ นำเสนอผลงานครั้งนี้ ภาพถ่ายบางส่วนอาจการปรับแต่งความสว่างของแสงและค่าน้ำหนักในภาพ เพียงเล็กน้อยด้วยโปรแกรมอะโดบี โฟโต้ชอป ไลท์รูม (Adobe Lightroom) เวอร์ชั่น 3.4 ร่วมกับ การจัดการกับภาพถ่ายเท่าที่จำเป็นในโปรแกรมอะโดบี โฟโต้ชอป (Adobe Photoshop) เวอร์ชั่น 22.0.1 ซึ่งการตกแต่งบางส่วนของผลงานในชุดภาพถ่ายนี้ เป็นไปเพื่อควบคุมการถ่ายทอดเรื่องราว ของบุคคลในแต่ละภาพให้ออกมาได้อย่างสมบูรณ์ที่สุด(ถ่ายทอดภาพเหมือนโดยนัยสะท้อนถึง ความงดงามของสัมพันธภาพชีวิตกับวิถีทางสังคมวัฒนธรรมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในเขต ภูมิศาสตร์เขตร้อนชื้นที่ยังคงพึ่งพิงกลไกทางธรรมชาติ) ผลลัพธ์จากการศึกษาได้แสดงให้เห็นว่า กลุ่มการงานอาชีพของชนชั้นแรงงานในจังหวัดเชียงใหม่ มีสายงานหลากหลายรูปแบบจนน่า ประหลาดใจ ซึ่งแต่ละบุคคลที่ถูกถ่ายภาพไว้นั้นจึงมีความสำคัญยิ่ง และสิ่งนี้เองที่ช่วยส่งเสริมให้ สภาพสังคมและวัฒนธรรมของเมืองเชียงใหม่นั้นมีความโดดเด่นเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวในแถบ ภาคเหนือของประเทศไทย ผลงานศิลปะภาพถ่ายชุด ภาพบุคคลชนชั้นแรงงาน: เชียงใหม่ ประเทศ ไทย จึงถือเป็นตัวแทนของการนำเสนอมุมมองร่วมสมัยที่มีต่อสถานภาพ ปัจเจกภาพ และสภาวะที่ แวดล้อมกลุ่มคนผู้ขายแรงงานอยู่ในจังหวัดเชียงใหม่ อีกทั้งยังเป็นการส่งเสริมให้ชนชั้นกรรมาชีพ ได้รับการเหลียวแลและถูกมองเห็นคุณค่ามากยิ่งขึ้น | en_US |
Appears in Collections: | FINEARTS: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
610331022 WILLIAM CARROLL LANGSTON.pdf | 10.5 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.