Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74025
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสรินยา ศรีเพชราวุธ-
dc.contributor.authorครองพร ชินชัยen_US
dc.date.accessioned2022-08-29T15:53:20Z-
dc.date.available2022-08-29T15:53:20Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74025-
dc.description.abstractThe objective of this study was to evaluate the effect of Thai traditional play protocol on working memory and inhibitory control in children with attention-deficit/ hyperactivity disorder (ADHD). Parents of children with ADHD completed the Behavioral Rating Inventory of Executive Function (BRIEF): Thai version, Parent Form. Then the Stroop Color and Word Test (SCWT): Children edition was used to collect the scores from seven children with ADHD, ages 8.0 years - 9.11 years before the experiment. These children participated in the Thai traditional play protocol for 3 times a week, 60 minutes per time, for 8 weeks continuously. Their behaviors during each interventionwere also recorded. The SCWT was then used again to collect the scores afier the experiment. The results showed a significant difference in working memory (p < .05). However, no significant difference in inhibitory control was found (p > .05). Moreover, it was obvious that children's behaviors relating to inhibitory control skills during therapy were improved. In addition, other areas of executive function including flexibility, plan and organization, emotional control were also observed through children's behaviors during therapy. The study findings demonstrated the effect of Thai traditional play protocol on working memory in children with attention-deficit/ hyperactivity disorder. Occupational therapists can apply this protocol as a prototype for planning the intervention for children with ADHD focusing on working memory.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleผลของแนวทางการบำบัดโดยการใช้การละเล่นไทยต่อความจำขณะใช้งานและการยั้งคิดไตร่ตรองในเด็กสมาธิสั้นen_US
dc.title.alternativeEffect of Thai traditional play protocol on working memory and inhibitory control in children with Attention-Deficit/ Hyperactivity Disorderen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashกิจกรรมบำบัดสำหรับเด็ก-
thailis.controlvocab.thashการบำบัดด้วยการเล่น-
thailis.controlvocab.thashนันทนาการบำบัด-
thailis.controlvocab.thashการละเล่น -- ไทย-
thailis.controlvocab.thashเด็กสมาธิสั้น -- การปรับพฤติกรรม-
thailis.controlvocab.thashเด็กสมาธิสั้น-
thailis.controlvocab.thashเด็กพิเศษ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยเชิงกึ่งทดลองที่เป็นกลุ่มโดยใช้การวัดผลก่อนและหลังการทดลองนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของแนวทางการบำบัดโดยการใช้การละเล่นไทยต่อความจำขณะใช้งานและการยั้งคิด ไตร่ตรองในเด็กสมาธิสั้น อายุ 8 ปี 0 เดือน -9 ปี 11 เดือนที่ใด้รับการวินิจฉัยว่าเป็นสมาธิสั้นจาก จิตแพทย์เด็กและวัยรุ่น จำนวน 7 คน คัดกรองปัญหาการคิดเชิงบริหารด้วยแบบประเมิน Behavioral Rating Inventory of Executive Function BRIEF): Thai version ฉบับผู้ปกครองและเก็บคะแนนก่อน การทดลองด้วยแบบประเมิน Stroop Color and Word Test (SCWT) : Children edition จากนั้น ผู้ปกครองของกลุ่มตัวอย่างเด็กเข้ารับการอบรมเกี่ยวกับความคิดเชิงบริหารในเด็กสมาธิสั้นและวิธีการ ตอบคำถามในแบบประเมิน BRIEF กลุ่มตัวอย่างเด็กได้รับการบำบัดด้วขแนวทางการบำบัดโดยการ ใช้การละเล่นไทยต่อความจำขณะใช้งานและการยั้งคิดไตร่ตรองในเด็กสมาธิสั้นทั้งหมด 24 ครั้ง สัปดาห์ละ 3 ครั้ง ครั้งละ 60 นาที ต่อเนื่องกันเป็นระยะเวลา 8 สัปดาห์ หลังจากนั้น รับการประเมินอีก ครั้งด้วยแบบประเมิน SCWT ข้อมูลที่ได้นำมาวิเคราะห์ โดยใช้สถิติ Wilcoxon Signed Rank Test ผลการวิเคราะห์ทางสถิติพบว่า มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญของความสามารถ ค้านความจำขณะใช้งาน (p < .05) แต่ไม่พบความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญของการยั้งคิดไตร่ตรอง ในเด็กสมาธิสั้นหลังการทดลอง (p >.05) ซึ่งในแต่ละสัปดาห์ของการบำบัด สังเกตได้อย่างชัดเจนว่า กลุ่มตัวอย่างมีพฤติกรรมที่ดีขึ้นในด้านทักษะการยั้งคิดไตร่ตรอง รวมถึง ความสามารถด้านความคิด เชิงบริหารด้านการยืดหยุ่นความคิด การวางแผน จัดระบบและดำเนินการ และการควบคุมอารมณ์ ผลการศึกษาแสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพของการใช้แนวทางการบำบัดต่อทักษะความจำขณะใช้งาน ในเด็กสมาธิสั้น นักกิจกรรมบำบัดสามารถประยุกต์ใช้เป็นต้นแบบเพื่อวางแผนบำบัดความสามารถ ด้านความจำขณะใช้งานสำหรับเด็กสมาธิสั้นได้ต่อไปen_US
Appears in Collections:AMS: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
601131006 ครองพร ชินชัย.pdf3.28 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.