Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74017
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจตุพล คำปวนสาย-
dc.contributor.authorสุวภัทร สาธุภาคen_US
dc.date.accessioned2022-08-29T15:33:56Z-
dc.date.available2022-08-29T15:33:56Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74017-
dc.description.abstractGlucose-6-phosphate dehydrogenase (G6PD) deficiency is one of the most common red blood cell disorders in Southeast Asia. Previous studies reported that the distribution of G6PD prevalence varied from different regions and among ethnic groups. To reveal the G6PD frequency and variants in Tai Lue population of northern Thailand, blood samples of 296 unrelated individuals from 6 Tai Lue villages were analyzed. The observed G6PD enzyme activity ranged from 0.11 to 20.60 Uig Hb. Among studied samples, 13.51% (40/296) showed enzyme activity lower than 4.68 U/g Hb and were identified to have G6PD deficiency status. The G6PD genotype were investigated using DiaPlexCM G6PD Genotyping kit (Asian type) and direct sequencing. The most common G6PD variants in Tai Lue were Kaiping 1388G>A (5.40%) and Canton 1376G>T (6.42%). Investigation of hemoglobin E (HbE) prevalence which related to G6PD deficiency inheritance found that 6.76% (20/296) of Tai Lue individuals carried HbE gene. Co-inheritance of G6PD and HbE variants was found in 1.35% of samples. Comparing to other ethnic groups, the observed G6PD and HbE prevalences of Tai Lue were similar to the Tai-Kadai speaking ethnic groups who were living in southern China, which reflected their close genetic relationship and ancestry. However, the fluctuation of prevalence found in each village may be shaped by the founder efiect occurred during Tai Lue's transboundary migration from China to Thailand.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความชุกและรูปแบบความผันแปรที่ก่อให้เกิดภาวะพร่องเอนไซม์ กลูโคส-6-ฟอสเฟตดีไฮโดรจีเนสในกลุ่มชาติพันธุ์ไทลื้อในภาคเหนือ ของประเทศไทยen_US
dc.title.alternativePrevalence and variant characterization of Glucose-6-Phosphate Dehydrogenase deficiency in Tai Lue ethnic group of Northern Thailanden_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashภาวะพร่องเอนไซม์กลูโคสซิกซ์ฟอสเฟตดีไฮโดรจีเนส-
thailis.controlvocab.thashภาวะพร่องเอนไซม์จีซิกซ์พีดี-
thailis.controlvocab.thashลื้อ -- ไทย (ภาคเหนือ)-
thailis.controlvocab.thashชาติพันธุ์วิทยา -- ไทย (ภาคเหนือ)-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractภาวะพร่องเอนไซม์กลูโคสซิกซ์ฟอสเฟตดีไฮโดรจีเนส (จีซิกซ์พีดี) เป็นความผิดปกติ ของเซลล์เม็ดเลือดแดงที่พบได้บ่อยในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยรูปแบบความผันแปร ทางพันธุกรรมที่ก่อให้เกิดความผิดปกตินี้มีความแดกต่างกันตามภูมิภาคและกลุ่มชาติพันธุ์ งานวิจัย ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจความชุกและระบุรูปแบบความผันแปรทางพันธุกรรม ที่ก่อให้เกิดภาวะพร่องเอนไซม์จีซิกซ์พีดีในชาวไทลื้อที่อาศัยอยู่ในภาคเหนือของประเทศไทย จากการตรวจวัดค่าการทำงานของเอนไซม์จีซิกซ์พีดีในตัวอย่างเลือดของอาสาสมัคร จำนวน 296 คน จาก 6 หมู่บ้าน พบคำการทำงานของเอนไซม์อยู่ในช่วง 0.11 ถึง 20.60 U/g Hb โดยมีผู้ที่มีการ ทำงานของเอนไซม์ต่ำกว่า 4.68 Ug Hb ซึ่งจะระบุเป็นผู้ที่มีภาวะพร่องเอนไซม์จีซิกซ์พีดี ร้อยละ 13.51 (40/296 คน) การตรวจสอบรูปแบบความผันแปรด้วยชุดน้ำยาสำเร็จรูป DiaPlexCTM G6PD Genotyping kit (Asian type) และการตรวจหาลำดับเบส โดยตรง พบรูปแบบความผันแปร ที่พบมากในชาวไทลื้อ ได้แก่ Kaiping 1388G>A (ร้อยละ 5.40) และ Canton 1376G>T (ร้อยละ 6.42) การตรวจหาความชุกของลักษณะพันธุกรรมโมโกลบินอีที่เกี่ยวข้อง กับการถ่ายทอดภาวะพร่องเอนไซม์จีซิกซ์พีดี พบว่า ในชาวไทลื้อมีผู้ที่มียืนฮีโมโกลบินอี ร้อยล ะ 6.76 (20/296 คน) และมีคนที่มีภาวะร่วมของทั้งสองลักษณะ ร้อยละ 1.35 (4/296 คน) การเปรียบเทียบผลการศึกษากับกลุ่มชาติพันธุ์อื่น ๆ พบว่า ชาวไทลื้อมีความชุกและรูปแบบ ความผันแปรที่ก่อให้เกิดภาวะพร่องเอนไซม์จีซิกซ์พีดีและฮีโมโกลบินอีใกล้เคียง กับกลุ่มชาติพันธุ์ที่ใช้ภาษาตระกูลไท-กะไดในบริเวณตอนใต้ของจีน ซึ่งสะท้อนให้เห็น ถึงความใกล้ชิดกันทางพันธุกรรมของประชากรทั้งสองกลุ่ม อันเนื่องมาจากการมีบรรพบุรุษร่วมกัน อย่างไรก็ตามความชุกและรูปแบบความผันแปรที่แตกต่างกันในชาวไทลื้อแต่ละหมู่บ้านน่าจะเกิดขึ้น จากผลกระทบของผู้ตั้งรกรากที่เกิดขึ้นในช่วงที่ชาวไทลื้อมีการอพยพจากประเทศจีนเข้าสู่ประเทศไทยen_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
600531034 สุวภัทร สาธุภาค.pdf16.64 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.