Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74016
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเก่งกิจ กิติเรียงลาภ-
dc.contributor.authorพีรณัฐ พฤกษารัตน์en_US
dc.date.accessioned2022-08-29T15:31:35Z-
dc.date.available2022-08-29T15:31:35Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74016-
dc.description.abstractThis research aims to examine methods of the Southern Farmers Movement in the struggle for land to and sustain their livelihood without claiming the original land ownership. This research contains 3 research questions. First, what are the causes and characteristics of the conflict in land management between southern farmers and government policies? Second, why is the Southern Farmers Movement retaliation against the state through land raids? And the last question is what model the Southern Farmers Movement applies to manage labor and inputs? The findings from this research are; First, the state policy in the third context (1989 to present) which promotes the expansion of the private property local production affecting the phenomenon of land loss in the south. Because land is essential for the farmers, but they cannot access due to the changes by the state policy. When land has become commodity and marketable, it situates a flow of enclosure, causing farmers in the south to lose their land. Second, farmers responded to the loss of land by forming a Southern Farmers Movement, seizing land and allocating the confiscated land as common. Therefore, farmers have a place and land to live and cultivate. Third, the Southern Farmers Movement has turned the land into common for farmers to utilize, in which people who want to use the land must jointly confiscate the land and use labor to build various infrastructures in the land with others without claiming the original community rights. In this sense, the concept of common is the process of adjusting power relations. Farmers who used to contest in the political dimension can create a system of land and labor management on their own without needing to refer to any proprietary system. These findings invite us to rethink the concept of common as being more constructive than claiming property.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.title“ซอแรง”: การปิดล้อม การต่อต้าน และการสร้างส่วนรวมen_US
dc.title.alternative“So Lang”: enclosure, insurrection and commoningen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashเกษตรกร -- ไทย (ภาคใต้)-
thailis.controlvocab.thashการใช้ที่ดิน-
thailis.controlvocab.thashที่ดิน -- นโยบายของรัฐ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยชิ้นนี้ต้องการศึกษาว่า ขบวนการเกษตรกรภาคใต้ใช้แนวทางอะไรในการต่อสู้เพื่อให้ ได้มาซึ่งที่ดินสำหรับอยู่อาศัยและทำมาหากิน โดยที่ไม่ต้องอ้างสิทธิ์ความเป็นเจ้าของที่ดินดั้งเคิม งานวิจัยชิ้นนี้มีคำถามวิจัย 3 ข้อประกอบด้วย หนึ่ง อะไรคือที่มาและลักษณะของความขัดแย้งในการ จัดการที่ดินระหว่างเกษตรกรภาคใต้กับนโยบายของรัฐ สอง ทำไมขบวนการเกษตรกรภาคใต้ถึงตอบ โต้กับรัฐผ่านการบุกยึดที่ดีน และสาม ขบวนการเกษตรกรภาคใต้มีรูปแบบการจัดการแรงงานและ ปัจจัยการผลิตอย่างไร ข้อค้นพบที่ได้จากงานวิจัยชิ้นนี้คือ หนึ่ง นโยบายของรัฐในบริบทยุคที่สาม (พ.ศ.2532 ถึงปัจจุบัน) ที่ส่งเสริมการขยายตัวของระบบกรรมสิทธิ์ส่วนตัวในที่ดิน เพื่อส่งเสริมการ ผลิต ส่งผลต่อปรากฏการณ์สูญเสียที่ดินในภาคใต้เนื่องจากที่ดินในฐานะปัจจัยการผลิตกลายเป็นที่ ต้องการของตลาดจนก่อเกิดเป็นกระแสการปิดล้อมที่ดิน (enclosure) ทำให้เกษตรกรภาคใต้สูญเสีย ที่ดิน สอง เกษตรกรจึงตอบโต้ต่อการสูญเสียที่ดินด้วยการรวมตัวเป็น ขบวนการเกษตรกรภาคใต้ เพื่อ ยึดที่ดินและนำที่ดินที่ยึดได้มาจัดสรรเป็นสมบัติส่วนรวม ให้เกษตรกรได้มีที่อยู่อาศัยและมีที่ดินทำมา หากินได้ และสาม ขบวนการได้ทำให้ที่ดินกลายเป็นสมบัติส่วนรวม (common) ที่เกษตรกรสามารถ เข้าไปใช้ใด้ โดยผู้ที่ต้องการใช้ที่ดินต้องร่วมยึดที่ดินและร่วมใช้แรงงานสร้างสิ่งต่าง ๆ ในที่ดินที่เขา ยึดได้ร่วมกับคนอื่น ๆ โดยไม่ต้องกลับไปอ้างสิทธิชุมชนดั้งเดิม ในแง่นี้มโนทัศน์สมบัติส่วนรวมจึง เป็นกระบวนการปรับความสัมพันธ์ทางอำนาจ ที่เกษตรกรนำมาใช้ต่อสู้ในมิติทางการเมืองว่า พวกเขา สามารถสร้างระบบการจัดการที่ดินและแรงงานได้ ไดยไม่จำเป็นต้องอ้างระบบกรรมสิทธิ์ใด ๆ ข้อ ค้นพบดังกล่าวนี้ทำให้เราต้องพิจารณามโนทัศน์สมบัติส่วนรวมใหม่ในฐานะที่เป็นการสร้างสรรค์ มากกว่าการอ้างกรรมสิทธิ์en_US
Appears in Collections:SOC: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
600431015 พีรณัฐ พฤกษารัตน์.pdf1.97 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.